Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13197
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNITIKORN MANAJITen
dc.contributorนิติกร มานะจิตรth
dc.contributor.advisorRatana Daungkaewen
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้วth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:22Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:22Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued3/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13197-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the participatory administration of school administrators in Tha Chang district under Surat Thani Primary Educational Service Area Office 2; 2) to study the teamwork efficiency of school teachers; and 3) to study the relationship between participatory administration of school administrators and teamwork efficiency of school teachers.The sample consisted of 118 school teachers in Tha Chang district under Surat Thani Primary Educational Service Area Office 2, all of whom were obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a rating scale questionnaire dealing with data on participatory administration of school administrators and teamwork efficiency of school teachers, with reliability coefficient of .86 and .87, respectively.  Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation.The research findings were as follows:  1) the overall participatory administration of school administrators was rated at the high level; 2) the overall teamwork efficiency of school teachers was rated at the high level; and 3) the participatory administration of school administrators positively correlated at the medium level with the teamwork efficiency of school teachers, which was significant at the .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่าฉาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2   2) ศึกษาประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษากลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษา อำเภอท่าฉาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 จำนวน 118 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา และประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของครู ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86 และ .87 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของครูมีความสัมพันธ์เชิงบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการบริหารแบบมีส่วนร่วม  ประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีม  ประถมศึกษาth
dc.subjectParticipatory administrationen
dc.subjectTeamwork efficiencyen
dc.subjectPrimary educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Relationship Between Participatory Administration of School Administrators and Teamwork Efficiency of School Teachers in Tha Chang District under Surat Thani Primary Educational Service Area Office 2en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา อำเภอท่าฉาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorRatana Daungkaewen
dc.contributor.coadvisorรัตนา ดวงแก้วth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642300285.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.