Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | WARUNEE SURIYATA | en |
dc.contributor | วารุณี สุริยะต๊ะ | th |
dc.contributor.advisor | Thitikorn Yawichai Charueksil | en |
dc.contributor.advisor | ฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:26Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:26Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 28/10/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13205 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were (1) to study the learning resources management of schools under Phayao Primary Educational Service Area Office 1; and (2) to compare the learning resources management of schools under Phayao Primary Educational Service Area Office 1 as classified by school size. The research sample consisted of 242 teachers in schools under Phayao Primary Educational Service Area Office 1, obtained by stratified random sampling based on school size. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The research tool was a rating scale questionnaire on learning resources management of school, with reliability coefficient of .93. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and LSD analysis of variance.The research findings revealed that (1) the overall of learning resources management of schools were rated at the high level; the aspect rated at the highest level was as follows: that of learning resources management planning, and that of learning resources management implementation; while the aspect rated at the high level was as follows: that of learning resources management evaluation and monitor and that of using evaluation results to improve and correct of learning resources management; and (2) the comparison results of learning resources management of schools as classified by school size revealed that extra-large-sized schools were significantly different learning resources management compared to small-sized schools and middle-sized schools at the .05 level. The small-sized schools and middle-sized schools were higher level of learning resource management than extra-large-sized schools. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยาเขต 1 และ 2) เปรียบเทียบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยาเขต 1 จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยาเขต 1 จำนวน 242 คน ได้มาโดยใช้ตารางของเครจซีและมอร์แกน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิตามขนาดของสถานศึกษา และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับเกี่ยวกับการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์รายคู่แบบแอลเอสดีผลการวิจัยปรากฏว่า 1) การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการวางแผนการบริหารแหล่งเรียนรู้ ด้านการดำเนินงานบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยระดับมาก ได้แก่ ด้านการประเมินและติดตามการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ และด้านการนำผลการประเมินไปปรับปรุงและแก้ไขการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ และ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษมีการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้แตกต่างจากสถานศึกษาขนาดเล็กและสถานศึกษาขนาดกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสถานศึกษาขนาดเล็กและสถานศึกษาขนาดกลางมีการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้สูงกว่าสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | การบริหารจัดการ แหล่งเรียนรู้ ประถมศึกษา | th |
dc.subject | Management | en |
dc.subject | Learning resource | en |
dc.subject | Primary education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | Learning Resources Management of Schools under Phayao Primary Educational Service Area Office 1 | en |
dc.title | การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thitikorn Yawichai Charueksil | en |
dc.contributor.coadvisor | ฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Education (Educational Administration) | en |
dc.description.degreediscipline | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2642300749.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.