Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
dc.contributor.authorจันทนา ซิลวาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:32Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:32Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13219en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนอกห้องเรียนเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียน ในโรงเรียนนานาชาติแห่งหนึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3-4  อายุ 7-9 ปี ได้มาจากการรับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมและได้รับการอนุญาตจากผู้ปกครอง ในปีการศึกษาที่ 2566 ของโรงเรียนนานาชาติแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้      การวิจัยคือ 1) ชุดกิจกรรมแนะแนวนอกห้องเรียน จำนวนกิจกรรม 12 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที        มีค่าความเหมาะสมระดับมากที่สุด และ2) แบบวัดทักษะทางสังคม มีค่าความเที่ยง .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบวิลคอกซันผลการวิจัยพบว่า  นักเรียนกลุ่มที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนอกห้องเรียนมีระดับทักษะทางสังคมสูงกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนอกห้องเรียนนักเรียนมีทักษะการปฏิสัมพันธ์ด้านการสื่อสาร ทักษะการตระหนักรู้และควบคุมอารมณ์ และทักษะความสามารถในการปฏิบัติตามกฎกติกาสูงกว่าก่อนการใช้ก่อนใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนอกห้องเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแนะแนวในการศึกษาขั้นประถมth_TH
dc.subjectทักษะทางสังคมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนอกห้องเรียนเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-4 โรงเรียนนานาชาติแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeEffect of using a guidance activities outside the classroom package to promote social skills of children in an International in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to compare the effects of using a guidance acitivities outside the classroom package  to develop the social skills of students at an international school. The sample group consisted of 10 students from Years 3 and 4, aged 7-9 years, who volunteered to participate in the activities with parental consent during the 2023-2024 academic year at an international school in Bangkok. The research instruments included: 1) a set of 12 guidance acitivities outside the classroom package, each lasting 45 minutes, rated as highly appropriate and 2) a social skills assessment tool with a reliability coefficient at .89. The data were analyzed using mean, standard deviation, and the Wilcoxon Signed Rank TestThe research findings revealed that students who participated in the guidance acitivities outside the classroom package demonstrated significantly higher social skills after the intervention at the 0.05 level. When analyzing specific aspects, it was found that, after participating in the package, students showed significant improvements in communication skills, emotional awareness and regulation, and the ability to follow rules, all at the 0.05 significance levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642800474.pdf4.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.