Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuwanna Boonmuangen
dc.contributorสุวรรณา บุญเมืองth
dc.contributor.advisorTweesak Chindanuraken
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:32Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:32Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued30/10/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13220-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to 1) compare the learning achievement in the topic of Force and Motion between Vocational Certificate students learning through the STEM education approach and that of students learning through the traditional learning management; 2) compare scientific creative thinking of the students learning through the STEM education approach with that of students learning through the traditional learning management; and 3) compare the pre-learning and post-learning scientific creative thinking of students learning through the STEM education approach.The research sample consisted of 72 Vocational Certificate students of Wang Klai Kangwon Industrial and Community Education College in Prachuap Khiri Khan Province from two intact classrooms obtained by cluster random sampling. Then, one class was randomly assigned as the experimental group while the other was assigned as the control group. The instruments used in this research were 1) learning management plans using the STEM education approach in the topic of Force and Motion and traditional learning management plans; 2) a science learning achievement test in the topic of Force and Motion; and 3) a scientific creative thinking test. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test.The research findings revealed that 1) there was no significant difference in the learning achievement in the topic of Force and Motion between students learning through the STEM education approach and those learning through traditional learning management; 2) scientific creative thinking level of the students learning through the STEM education approach was significantly higher than the counterpart thinking level of the students learning through the traditional learning management at the .05 level of statistical significance; and 3) the post- learning scientific creative thinking of the students learning through the STEM education approach was significantly higher than their pre-learning counterpart at the .05 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ หลังเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่เรียนรู้ตามรูปแบบสะเต็มศึกษากับรูปแบบปกติ  2) ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่เรียนรู้ตามรูปแบบ สะเต็มศึกษากับรูปแบบปกติ และ 3) ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่เรียนรู้ตามรูปแบบสะเต็มศึกษาระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยการอาชีพวังไกล-กังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 72 คน แล้วจับฉลากเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบสะเต็มศึกษา เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ และแผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบปกติ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ และ 3) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้ตามรูปแบบสะเต็มกับนักเรียนที่จัดการเรียนรู้ตามรูปแบบปกติไม่แตกต่างกัน 2) ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้ตามรูปแบบสะเต็มสูงกว่านักเรียนที่จัดการเรียนรู้ตามรูปแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้ตามรูปแบบสะเต็มหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectสะเต็มศึกษา  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectSTEM Educationen
dc.subjectLearning achievementen
dc.subjectScientific creative thinkingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effects of Learning Management Based on STEM Education Approach in the Topic of Force and Motion on Learning Achievement and Scientific Creative Thinking of Vocational Certificate Students at Wang Klai Kangwon Industrial and Community Education College in Prachuap Khiri Khan Provinceen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบสะเต็มศึกษา เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTweesak Chindanuraken
dc.contributor.coadvisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Science Education (Master of Education(Science Education))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Science Education)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652000155.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.