Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKEWALEE DEESOen
dc.contributorเกวลี ดีโสth
dc.contributor.advisorKoolchalee Chongcharoenen
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:35Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:35Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued14/1/2025
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13224-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1) the instructional leadership level of school heads; 2) the level of functional competencies of teachers in the child development centers; and 3) the relationship between instructional leadership of school heads and functional competencies of teachers in child development centers under Phetchabun local government organization. The research sample consisted of 328 teachers in child development centers under Phetchabun local government organization during the 2024 academic year, obtained by stratified random sampling and simple random sampling. The sample size was determined with the use of Krejcie and Morgan Sample Size Table.  The employed research tool was a questionnaire on instructional leadership of school head and functional competencies of teacher, with reliability coefficients of .97 and .94, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient.The research findings revealed that 1) both the overall and specific aspects of instructional leadership of the school heads were rated at the high level; the specific aspects of instructional leadership could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: that of the evaluation of instructional management; that of the promotion of positive learning atmosphere; that of the observation and improvement of instruction; that of the management and administration of curriculum and instruction; and that of the determination of the school mission, respectively; 2) both the overall and specific aspects of functional competencies of the teachers were rated at the highest level; the specific aspects of functional competencies could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: that of the learner development; that of the classroom management; and that of the designing of learning, respectively; and 3) instructional leadership of the school heads correlated positively at the high level with functional competencies of the teachers, which was significant at the .01 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำการเรียนการสอนของหัวหน้าสถานศึกษา 2) ระดับสมรรถนะตามสายงานตามการรับรู้ของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเรียนการสอนของหัวหน้าสถานศึกษากับสมรรถนะตามสายงานตามการรับรู้ของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์ ปีการศึกษา 2567 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 269 คน จากนั้นใช้วิธีสุ่มแบบชั้นภูมิและการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเรียนการสอนของหัวหน้าสถานศึกษาและสมรรถนะตามสายงานของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และ .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำการเรียนการสอนของหัวหน้าสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน ด้านการส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้เชิงบวก ด้านการสังเกตและการปรับปรุงการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรและการสอน และด้านการกำหนดพันธกิจของโรงเรียน ตามลำดับ 2) สมรรถนะตามสายงานของครู โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการพัฒนาผู้เรียน ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน และด้านการออกแบบการเรียนรู้ ตามลำดับ และ 3) ภาวะผู้นำการเรียนการสอนของหัวหน้าสถานศึกษากับสมรรถนะตามสายงานของครูมีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectภาวะผู้นำการเรียนการสอน สมรรถนะตามสายงาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กth
dc.subjectInstructional leadershipen
dc.subjectFunctional competencyen
dc.subjectChild development centeren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Relationship between Instructional Leadership of School Heads and Functional Competencies of Teachers in the Child Development Centers under Phetchabun Local Government Organizationen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเรียนการสอนของหัวหน้าสถานศึกษา กับสมรรถนะตามสายงานของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorKoolchalee Chongcharoenen
dc.contributor.coadvisorกุลชลี จงเจริญth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652300050.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.