Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSAKARET TAWAKUNen
dc.contributorสาคเรศ ตาวากุลth
dc.contributor.advisorSopana Sudsomboonen
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:37Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:37Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued7/11/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13229-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study:1) the technological leadership of school administrators in educational opportunity extension schools; 2) the use of the TPACK model by teachers  in educational opportunity extension schools; and 3)the relationship between the technological leadership of school administrators and the use of the TPACK model by teachers in educational opportunity extension schools in Mae Taeng District under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 2. The sample consisted of 146 teachers from educational opportunity extension schools in Mae Taeng District under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 2 during the 2024 academic year, obtained by stratified random sampling based on school size. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The research instruments included a questionnaire dealing with the technological leadership of school administrators and the use of the TPACK model by teachers, with reliability coefficients of .94 and .94, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson' s product-moment correlation coefficient. The research findings showed that 1) the overall technological leadership of school administrators was rated at the high level, with the specific aspects ranked from highest to lowest based on their mean ratings as follows: the aspects of technological vision of school administrators, fostering a digital learning culture, professional excellence, planning and managing educational technology, and technological ethics and integrity; 2) the overall use of the TPACK model by teachers was rated at the high level, with the specific aspects ranked from highest to lowest based on their mean ratings as follows:  the aspects of technological knowledge integrated with teaching methods, content knowledge integrated with teaching methods, technological knowledge integrated with content knowledge, technological knowledge, content knowledge, content knowledge integrated with teaching methods and technology, and teaching method knowledge; and 3)the technological leadership of school administrators positively correlated with the use of the TPACK model by teachers at the moderate level (r =.487), which was significant at the .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 2) การใช้ทีแพคโมเดลของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับการใช้ ทีแพค โมเดลของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอแม่แตง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในอำเภอแม่แตง ปีการศึกษา 2567 จำนวน 146 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเคร็จซีและมอร์แกน จากนั้นสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและการใช้ ทีแพค โมเดลของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ.94 และ .94 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการมีวิสัยทัศน์เชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ยุคดิจิทัล ด้านความเป็นเลิศในการปฏิบัติวิชาชีพ  ด้านการวางแผนจัดการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และด้านคุณธรรมและจรรยาบรรณทางเทคโนโลยี 2) การใช้ ทีแพค โมเดลของครูในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ความรู้ด้านเทคโนโลยีผสานวิธีสอน ความรู้ด้านเนื้อหาผสานวิธีสอน ความรู้ด้านเทคโนโลยีผสานความรู้เนื้อหา ความรู้ด้านเทคโนโลยี ความรู้ด้านเนื้อหา ความรู้ด้านเนื้อหาผสานวิธีการสอนและเทคโนโลยี และความรู้ด้านวิธีสอน และ 3) ภาวะผู้นาเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ในทางบวกกับการใช้ ทีแพค โมเดลของครูในระดับปานกลาง ( r =.487) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยี ทีแพคโมเดล โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาth
dc.subjectTechnological leadershipen
dc.subjectUse of technologyen
dc.subjectTPACK modelen
dc.subjectEducational opportunity extension schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Relationship Between Technological Leadership of School Administrators and the Use of the TPACK Model by Teachers in Educational Opportunity Extension Schools in Mae Taeng District under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 2en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับการใช้ทีแพคโมเดลของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอแม่แตง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSopana Sudsomboonen
dc.contributor.coadvisorโสภนา สุดสมบูรณ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652300209.pdf5.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.