Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMANUSSANUNT TRAGULWONGKITTIen
dc.contributorมนัสณันท์ ตระกูลวงศ์กิตติth
dc.contributor.advisorSukaroon Wongtimen
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:49Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:49Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued27/11/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13251-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1) the relationship between self-compassion and psychological well-being of older people at Lam Luk Ka District in Pathum Thani Province, 2) the relationship between family relation and psychological well-being of older people at Lam Luk Ka District in Pathum Thani Province, and 3) the relationship between social support and psychological well-being of older people at Lam Luk Ka District in Pathum Thani Province.The samples were 390 older people in the elderly club of Lam Luk Ka District at Pathum Thani Province. The instrument was a questionnaire consisting of 5 parts including  1) personal data items, 2) psychological well-being of older people items, 3) self-compassion items, 4) family relation items, and 5) social support items, with a Cronbach reliability of .83. Statistics were mean, standard deviation, and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient.The results revealed that 1) self-compassion and psychological well-being of older people had a moderate positive correlation with statistical significance at .01 level, 2) social support and psychological well-being of older people had a moderate positive correlation with statistical significance at .01 level, and 3) family relation had low positive correlation to psychological well-being of older people with statistical significance at .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความสัมพันธ์ระหว่างความเมตตากรุณาต่อตนเองกับสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ ในอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) ความสัมพันธ์ระหว่างความสัมพันธ์ในครอบครัวกับสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ ในอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่าง แรงสนับสนุนทางสังคมกับสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ ในอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานีกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 390 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล  2) สุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ 3) ความเมตตากรุณาต่อตัวเอง 4) ความสัมพันธ์ในครอบครัว 5) แรงสนับสนุนทางสังคม โดยมีค่าความเที่ยงแยกตามตัวแปรทั้ง 4 ข้างต้นเป็นดังนี้ ตามลำดับ .71, .72, .79, .77 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัย พบว่า 1) ความเมตตากรุณาต่อตนเองกับสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ ในเชิงบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวของผู้สูงอายุกับสุขภาวะทางจิตของผู้สุงอายุ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกอยู่ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 และ 3) แรงสนับสนุนทางสังคม กับสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectความเมตตากรุณาต่อตนเอง  ความสัมพันธ์ในครอบครัว  แรงสนับสนุนทางสังคม   สุขภาวะทางจิต  ผู้สูงอายุth
dc.subjectSelf-compassionen
dc.subjectFamily Relationen
dc.subjectSocial Supporten
dc.subjectPsychological Well-beingen
dc.subjectOlder Peopleen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Relationship between Self-Compassion, Family Relationship, Social Support and Psychological Well-being of Older People at Lam Luk Ka District in Pathum Thani Provinceen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความเมตตากรุณาต่อตนเอง ความสัมพันธ์ในครอบครัว แรงสนับสนุนทางสังคมกับสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุในอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานีth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSukaroon Wongtimen
dc.contributor.coadvisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Guidance and Psychological Counseling (M.Ed. (Guidance and Psychological Counseling))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Guidance and Psychological Counseling)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652800208.pdf980.14 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.