Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSitacha Sangkeawen
dc.contributorศิทชา สังข์แก้วth
dc.contributor.advisorChureerat Nilchantuken
dc.contributor.advisorจุรีรัตน์ นิลจันทึกth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:50Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:50Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued26/9/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13253-
dc.description.abstractThe purposes of this study were: 1) to compare students' digital intelligence before and after using a guidance activities package to develop digital intelligence, and 2) to compare the digital intelligence of students who used the guidance activities package with those who received regular guidance.The sample group consisted of 80 students from Grade 10 at Prachuap Wittayalai School, Mueang Prachuap Khiri Khan District, Prachuap Khiri Khan Province, during the 1st semester of the 2024 academic year. The students were selected by measuring the digital intelligence from 11 classrooms and pairing the two classrooms with the lowest average digital intelligence scores. A simple random sampling method was used to form two groups: an experimental group of 40 students and a control group of 40 students. The tools in this study included: (1) a guidance activities package for developing the digital intelligence of Grade 10 students, consisting of 10 activities, (2) a regular guidance, and (3) a digital intelligence assessment tool with a reliability coefficient of .91. The statistics used for data analysis included mean, standard deviation, and t-test.The study results revealed that: (1) after using the guidance activities package, students' average digital intelligence scores were significantly higher than before the experiment with a statistical significance level of .05., and (2) students who used the guidance activities package to develop digital intelligence had significantly higher average scores in digital intelligence compared to those who received regular guidance, with a statistical significance level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียน ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล และ 2) เปรียบเทียบความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลกับนักเรียนที่ได้รับการแนะแนวแบบปกติ  กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประจวบวิทยาลัย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 2567 จำนวน 80 คน ได้มาจากการวัดความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียน 11 ห้องเรียน แล้วเปรียบเทียบจับคู่ห้องเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางดิจิทัลน้อยที่สุด 2 ห้องเรียน จากนั้นสุ่มอย่างง่ายเพื่อเป็นกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม จำนวน 40 คน และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วยกิจกรรมแนะแนวจำนวน 10 กิจกรรม (2) การแนะแนวแบบปกติ และ (3) แบบวัดความฉลาดทางดิจิทัล มีค่าความเที่ยงที่ .91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนักเรียนมีค่าเฉลี่ยคะแนนความฉลาดทางดิจิทัลสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลมีค่าเฉลี่ยคะแนนความฉลาดทางดิจิทัลสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการแนะแนวแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectชุดกิจกรรมแนะแนว ความฉลาดทางดิจิทัล มัธยมศึกษาth
dc.subjectGuidance activities packageen
dc.subjectDigital intelligenceen
dc.subjectMathayom Suksaen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effects of Using a Guidance Activities Package to Develop Digital Intelligence of Grade 10 Students at Prachuapwittatalai School in Prachuap Khiri Khan Provinceen
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorChureerat Nilchantuken
dc.contributor.coadvisorจุรีรัตน์ นิลจันทึกth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Guidance and Psychological Counseling (M.Ed. (Guidance and Psychological Counseling))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Guidance and Psychological Counseling)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652800281.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.