Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSUDARATCH Chanchaien
dc.contributorสุดารัตน์ ชาญชัยth
dc.contributor.advisorNoppadol Udomwisawakulen
dc.contributor.advisorนพดล อุดมวิศวกุลth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:16Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:16Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued23/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13267-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to (1) study the situation of the strategic human resource management policy of the Department of Learning Encouragement, Ministry of Education (2) study the relationship between strategic human resource management and the success of strategic human resource management policy of the Department of Learning Encouragement, Ministry of Education (3) propose guidelines for developing strategic human resource management policies of the Department of Learning Encouragement, Ministry of Education. This research was mixed methods research. The population was civil servants, government employees and employees of the Department of Learning Encouragement based in the central offices, totaling 432 people. A sample of 208 people was established through the Taro Yamane formula: stratified sampling method and simple random sampling method. The study instrument was a questionnaire. Data analysis was carried out by using statistical tools, namely frequency, percentage, mean, standard deviation, and analysis by the method of Pearson correlation coefficient. In the qualitative research, the population was 12 executives of the directorial level based in the central offices. A sample group of three was the executives of the directorial level directly supervising the human resource development. The purposive sampling was employed to select those directly involved with the issues studied.  The study instruments were structured interviews and the data were analyzed by the content analysis method.The results of the research revealed that (1) operations in the area of personnel management had not yet been efficient due to the fact that work analysis and the current human resource position planning were not in line with the current mission of the Department of Learning Encouragement, human resource development and training plans were not diverse and up-to-date, and the policy promotion to incentivize the capable personnel is still lacking.  (2) strategic human resource management factors had a positive relationship with the success of the strategic human resource management policy of the Department of Learning Encouragement, Ministry of Education (3) development guidelines were that resource allocation for human resource development should be made more sufficient, suitable for and in line with the mission, need assessments for the positions required by the agency should be conducted before the recruiting and selecting process, the personnel should undergo regular trainings, clear and suitable career paths of the personnel should be promoted and supported, and those with good virtues, high capabilities and potentials should be promoted to raise the personnel’s motivation and morale.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการณ์ของนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เชิงยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์กับความสำเร็จของนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ (3) เสนอแนวทางในการพัฒนานโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ประชากร คือ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างของ กรมส่งเสริมการเรียนรู้ในส่วนกลาง จำนวน 432 คน กลุ่มตัวอย่าง 208 คน คำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิและวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์โดยวิธีการสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน การวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ผู้บริหารของหน่วยงานระดับผู้อำนวยการกลุ่มในส่วนกลาง จำนวน 12 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้บริหารของหน่วยงานระดับผู้อำนวยการกลุ่มที่มีภารกิจหลัก ในการกำกับดูแลงานโดยตรง จำนวน 3 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงผู้เกี่ยวข้องโดยตรงกับประเด็นที่ศึกษา เครื่องมือที่ใช้ศึกษา คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า (1) การดำเนินงานในด้านการบริหารงานบุคคลยังไม่มีการขับเคลื่อนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการวิเคราะห์งานและวางแผนกรอบอัตรากำลังไม่สอดรับกับภารกิจงานในปัจจุบันของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ แผนการพัฒนาและฝึกอบรมยังไม่มีความหลากหลาย และทันสมัย และยังขาดการส่งเสริมนโยบายในการเสริมสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากรที่มีความสามารถให้มีความก้าวหน้าในสายงานอาชีพ (2) ปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสำเร็จของนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ และ (3) แนวทางการพัฒนา คือ ควรจัดสรรทรัพยากรในด้านบุคลากรให้เพียงพอ เหมาะสม และสอดคล้องกับภารกิจ ควรสำรวจความต้องการในตำแหน่งที่ต้องการของหน่วยงาน ก่อนที่จะดำเนินการสรรหาและคัดเลือก ควรจัดให้บุคลากรได้อบรมตามสายงานอย่างสม่ำเสมอ ควรสนับสนุนและส่งเสริมเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพของบุคลากรให้มีความชัดเจนและเหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมคนดี คนเก่ง และมีศักยภาพสูง เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจแก่บุคลากรให้สูงขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์ กรมส่งเสริมการเรียนรู้  กระทรวงศึกษาธิการth
dc.subjectHuman Resource Managementen
dc.subjectStrategic Human Resource Management Policyen
dc.subjectDepartment of Learning  Encouragementen
dc.subjectMinistry of Educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.titleStrategic Human Resource Management Policy of Department of Learning Encouragement, Ministry of Educationen
dc.titleนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNoppadol Udomwisawakulen
dc.contributor.coadvisorนพดล อุดมวิศวกุลth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Public Administration (M.P.A.)en
dc.description.degreenameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ (รป.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Public Administrationen
dc.description.degreedisciplineรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2623001506.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.