Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13272
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรีย์ เข็มทอง | th_TH |
dc.contributor.author | นิสิต ปาปวน | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:37:17Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:37:17Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13272 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (การจัดการธุรกิจและการบริการ))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การรับรู้ภาพลักษณ์ของท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (2) การรับรู้ประสบการณ์ ความสุข และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (3) เปรียบเทียบการรับรู้ประสบการณ์ ความสุข ความพึงพอใจ และภาพลักษณ์ จำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ และ (4) ผลกระทบทางตรงและทางอ้อมของการรับรู้ประสบการณ์ ความสุข ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการรับรู้ภาพลักษณ์ของท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย การวิจัยนี้เป็นรูปแบบวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ใช้บริการชาวไทยที่มาใช้บริการของท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย อ้างอิงข้อมูลสถิติของท่าอากาศยานปี 2563 จำนวน 342,979 คน ขนาดตัวอย่างจำนวน 400 คน คำนวณโดยสูตรทาโร่ ยามาเน่ และสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เกณฑ์การคัดเลือก คือ ผู้ที่เคยใช้บริการในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) การรับรู้ภาพลักษณ์ของท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย อยู่ในระดับมาก (2) การรับรู้ประสบการณ์ของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับมาก ส่วนการรับรู้ความสุขและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับปานกลาง (3) การรับรู้ประสบการณ์ ความสุข ความพึงพอใจ และภาพลักษณ์ มีความแตกต่างตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) การรับรู้ประสบการณ์ด้านประสาทสัมผัสมีผลกระทบทางตรงต่อความสุขและ มีผลกระทบทางอ้อมต่อทั้งความพึงพอใจและการรับรู้ภาพลักษณ์ของท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | th_TH |
dc.subject | ภาพลักษณ์ ประสบการณ์ ความพึงพอใจ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.title | ผลกระทบของประสบการณ์ในสนามบินที่ส่งผลต่อความสุข ความพึงพอใจ และภาพลักษณ์ของท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of airport experience on happiness, satisfaction and imageof Mae Fah Luang-Chiang Rai International Airport | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจและการบริการ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study the perception of Mae Fah Luang - Chiang Rai International Airport’s image; (2) to study the perception of experience, happiness and satisfaction of the airport's users; (3) to study the comparison of the perception of experience, happiness, satisfaction and image of the airport's users classified by personal factors of users; and (4) to study the direct and indirect effects of perceptions of experiences, happiness and satisfaction of users on the perception of the airport's image. This study is a quantitative research design. The population in the study is Thai users using the services of Mae Fah Luang - Chiang Rai International Airport based on airport statistics in 2020, there were 342,979 Thai users. A survey was conducted with a total of 400 airport users, the sample size was calculated by using the Taro Yamane formula. The tools used to collect data is a survey questionnaire that was sent by purposive sampling technique. The Selection criteria are people who have used the service in the past 2 years, and the collected data were analyzed using statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, One-way analysis of variance, confirmatory factor analysis and path analysis. The results of the study found that (1) the perception of Mae Fah Luang-Chiang Rai International Airport's image was at a high level; (2) the perception of the user experience was at a high level. In addition, the perception of happiness and satisfaction of users was at a moderate level; (3) the perception of experience, happiness, satisfaction and image are different from each other based on personal factors of users as follows: gender, age, education and occupation with statistical significant at the level of 0.05; and (4) the perception of touch sense experience of users experience had a positive direct effect on happiness and an indirect effects on both satisfaction and perception of the image of Mae Fah Luang-Chiang Rai International Airport with statistical significance at the level of 0.05. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2623003817.pdf | 2.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.