Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuphanit Kumkaten
dc.contributorสุภนิช คุ้มเกตุth
dc.contributor.advisorNoppon Akahaten
dc.contributor.advisorนพพล อัคฮาดth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:19Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:19Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued18/9/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13282-
dc.description.abstractThis research aims to: (1) study the level of organizational management factors, work motivation factors, and work efficiency in driving the national strategy on creating opportunities and social equality among Social Development and Human Security Volunteers (SDHSV); (2) compare the work efficiency in driving the national strategy on creating opportunities and social equality among SDHSV volunteers with personal factors; (3) study factors related to work efficiency in driving the national strategy on creating opportunities and social equality among SDHSV volunteers; and (4) propose guidelines for improving work efficiency in driving the national strategy on creating opportunities and social equality among SDHSV volunteers.The research employed a mixed-methods approach. Quantitative research collected data from a sample of 385 SDHSV volunteers in Phitsanulok Province using questionnaires as the data collection tool. Descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation, were used for data analysis. Inferential statistics, including T-Test, one-way ANOVA, and correlation coefficient, were also employed. For qualitative research, data were collected through in-depth interviews with 9 key informants, selected through purposive sampling. Semi-structured interviews and content analysis were conducted using interpretative methods, and findings were presented through descriptive analysis to summarize and develop guidelines for improving the work efficiency of SDHSV volunteers.The research findings are as follows: (1) The levels of organizational management factors, work motivation factors, and work efficiency were generally high; (2) The comparison of work efficiency among SDHSV volunteers with personal factors found that gender, age, and marital status did not lead to differences in work efficiency. However, differences in education level, occupation, income level, and duration of service did result in differences in work efficiency; (3) Organizational management factors were slightly correlated with work efficiency, indicating that good organizational management helps in evaluating the organization's status to achieve its goals. Work motivation factors were moderately correlated with work efficiency, suggesting that various motivating factors significantly enhance the efficiency of SDHSV volunteers; and  (4) Recommendations for improving work efficiency include: 1) selecting SDHSV volunteers based on education level, occupation, income level, and duration of service; 2) developing the skills and expertise of SDHSV volunteers through organizational management factors; and 3) focusing on activities that honor and recognize the work of SDHSV volunteers and assigning them manageable workloads to assist the local community.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับปัจจัยการบริหารจัดการองค์การ ระดับปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานและระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)  (2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมของ อพม. กับปัจจัยส่วนบุคคล (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมของ อพม.และ  (4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมของ อพม.การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี การวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น อพม. ในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 385 คน  โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน เลือกแบบเจาะจง ใช้วิธีศึกษาจากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงเนื้อหาด้วยวิธีการตีความและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยการวิเคราะห์พรรณนา เพื่อสรุปผลและสร้างเป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ อพม.ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับปัจจัยการบริหารจัดการองค์การ ปัจจัยแรงจูงใจในการทำงาน และระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ อพม. กับปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ ที่แตกต่างกันจะมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน แต่ระดับการศึกษา อาชีพ ระดับรายได้ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานที่แตกต่างกันจะมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแตกต่างกัน (3) ปัจจัยการบริการจัดการองค์กรมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในระดับน้อย แสดงให้เห็นว่า การบริหารจัดการองค์กรจะช่วยให้สามารถประเมินสถานภาพขององค์กรเพื่อให้องค์กรได้สำเร็จบรรลุตามเป้าหมายได้ ส่วนปัจจัยแรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในระดับปานกลาง แสดงให้เห็นว่าการปฏิบัติงานของ อพม. มีปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งกระตุ้นในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และ (4) แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ควรพิจารณาคัดเลือก อพม. โดยพิจารณาในด้านระดับการศึกษา อาชีพ ระดับรายได้ และระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน  2) ปัจจัยการบริหารจัดการองค์กร ควรพัฒนาศักยภาพของ อพม. ในด้านทักษะให้มีความชำนาญ และ 3) ปัจจัยแรงจูงใจ ควรมุ่งเน้นกิจกรรมที่เป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติการปฏิบัติงานของ อพม. และควรมีการมอบหมายงานให้ช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ในปริมาณงานที่เหมาะสมth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการบริหารจัดการองค์กร แรงจูงใจ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมth
dc.subjectOrganizational Managementen
dc.subjectMotivationen
dc.subjectSocial Development and Human Security Volunteers (SDHSV)en
dc.subjectNational Strategy on Creating Opportunities and Social Equalityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationPublic administration and defence; compulsory social securityen
dc.titleFactors Related to the Improvement of Work Efficiency to Drive the National Strategy on Creating Opportunities and Social Equality of Social Development and Human Security Volunteers (SDHSV) in Phitsanulok Provinceen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในจังหวัดพิษณุโลกth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNoppon Akahaten
dc.contributor.coadvisorนพพล อัคฮาดth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Public Administration (M.P.A.)en
dc.description.degreenameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ (รป.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Public Administrationen
dc.description.degreedisciplineรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2633002510.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.