Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13293
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัยth_TH
dc.contributor.authorดวงใจ โสภาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:22Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:22Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13293en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (2) ศึกษาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (3) แสวงหาแนวทางส่งเสริม ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ที่มีรูปแบบการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จำนวน 1,051 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ได้จำนวน 290 คน โดยใช้สูตรทาโรยามาเน ด้วยการสุ่มแบบชั้นภูมิและสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา  คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผล ในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 (2) ปัจจัยค้ำจุนในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (3) ระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน อยู่ในระดับมากที่สุด                         และแนวทางส่งเสริมปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ข้อเสนอแนะ คือ ผู้บริหารควรมีการกำหนดนโยบายส่งเสริมความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ของบุคลากร และกำหนดนโยบายการปรับค่าตอบแทนในการทำงานที่เหมาะสม เพื่อเป็นปัจจัยแรงจูงใจให้การทำงานมีประสิทธิผลในอนาคตth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectปัจจัยที่มีความสัมพันธ์  ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน  ข้าราชการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the performance effectiveness of Public Servants, Department of Labor Protection and Welfareen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study factors related to work performance of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare. (2) study the level of operational effectiveness of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare. (3) seeking ways to promote motivation factors affecting the work efficiency of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare.This study was a quantitative study with a survey study format. The population studied was a civil servant of the Department of Labor Protection and Welfare, total 1,051 person. The sample size was determined to be 290 people using the Taro Yamane formula with stratified random sampling method. The instrument used in the study was a questionnaire. Statistics used in data analysis were divided into 2 parts, consisting of descriptive statistics included frequency, percentage, mean, and standard deviation and inferential statistics included the Pearson correlation coefficient.The results of the study showed that (1) Work motivating factors are related to effectiveness in work of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare at a moderate level with statistically significant at the 0.01 level. (2) Factors supporting work performance were related to work effectiveness of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare at a moderate level with statistically significant at the 0.01 level. (3) Performance efficiency level of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare at the highest level and guidelines for promoting factors that were related to the performance of civil servants in the Department of Labor Protection and Welfare. The suggestion was that executives should establish policies to promote the career advancement of personnel. Moreover, executives should initiate policies to adjust work compensation to be more appropriated to motivate work effectiveness in the future.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2643000157.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.