กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13302
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา บุญยัง | th_TH |
dc.contributor.author | กวีศิลป์ อินต๊ะโคตร์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:37:24Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:37:24Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13302 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพการบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (2) เปรียบเทียบคุณภาพการบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยการรับรู้ข่าวสารกับคุณภาพการบริหาร ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้มารับบริการ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำนวน 340 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการสำรวจข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือสถิติเชิงพรรณนา หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบสถิติค่าที และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพการบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านการนำองค์การมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพ การบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า อายุ ระดับการศึกษา ประเภทตำแหน่ง ระยะเวลาในการทำงานที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริหาร ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน เพศ สถานที่ปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ไม่แตกต่างกัน (3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยการรับรู้ข่าวสารของผู้มารับบริการกับคุณภาพ การบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในทุกๆ ด้าน มีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสัมพันธ์ ทางบวก อยู่ในระดับสูง | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การรับรู้ข่าวสาร คุณภาพการบริหาร รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ของการรับรู้ข่าวสารกับคุณภาพการบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between information perception and management quality according to the criteria of The Public Sector Management Quality Award at Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3 | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aims to study (1) the level of management quality according to the criteria of The Public Sector Management Quality Award criteria, (2) to compare the management quality according to the criteria of The Public Sector Management Quality Award classified according to personal factors, and (3) to test the relationship between information perception factors and management quality according to the criteria of The Public Sector Management Quality Award at the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3. The study is a quantitative research method. The sample group consisted of 340 service recipients from The Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3. A questionnaire was used as the data collection tool. The statistics used for analysis included descriptive statistics; mean and standard deviation, inferential statistics: One-Way ANOVA Independent-Sample t-Test,and Pearson Correlation Coefficient. The study found that (1) the opinion on management quality according to the criteria of The Public Sector Management Quality Award was at a high level,particularly in the aspect of organizational leadership was at the highest average score,(2)the personal factors revealed that age, education level, position type, and length of service had different opinions on management quality according to the criteria of The Public Sector Management Quality Award whereas gender and different workplaces had no difference in opinions on service quality, (3) the relationship between information perception factors of service recipients and management quality according to the criteria of The Public Sector Management Quality Award in all aspects was positively correlated at a high level. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2643000819.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น