กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13306
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนพพล อัคฮาดth_TH
dc.contributor.authorธนภัทร เทวานฤมิตรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:25Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:25Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13306en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักรักษา ความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2) ศึกษาระดับการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักรักษา ความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (3) เปรียบเทียบการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักรักษา ความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สังกัด ระดับตำแหน่ง ประสบการณ์ การทำงาน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน (4) วิเคราะห์ปัจจัยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อ การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภา สังกัดสำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 130 คนโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย สถิติทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x = 3.41, S.D.= 0.773), (2) ระดับการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรภาพรวมอยู่ในระดับ (x = 3.52, S.D. = 0.751), (3) การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่ แตกต่างกันกับระดับการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้แก่ ปัจจัยด้านอายุ ด้านตำแหน่ง ด้านประสบการณ์การทำงาน และด้านรายได้ และ 4) ปัจจัยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้แก่ ปัจจัยด้านการพัฒนาองค์กร (Beta = 0.306) รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการพัฒนารายบุคคล (Beta = 0.217) และปัจจัยด้านการพัฒนาสายอาชีพ (Beta = 0.105) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  องค์กรสมรรถนะสูง  สำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสำนักรักษาความปลอดภัย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรth_TH
dc.title.alternativeFactors of human resource development affecting the high performance organization of the bureau of security of the Secretariat of the House of Representativesen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study aimed to : (1) study human resource development level of the Bureau of Security, the Secretariat of the House of Representatives, (2) investigate high performance organization level of the Bureau of Security, the Secretariat of the House of Representatives, (3) compare high performance organization by individual characteristics including sex, age, education background, affiliation, position, work experience, and average monthly income, and (4)study factors of human resource development affecting the high performance organization of the Bureau of Security, the Secretariat of the House of Representatives This research was designed quantitatively.The sample included 130 Sample size can be calculated by using the Taro Yamane Formula, parliamentary police officers under the Bureau of Security, the Secretariat of the House of Representatives . A questionnaire was used as a data collection tool. Statistics used for data analysis were 1) descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation and 2) inferential statistics including independent samples t-test, One-Way ANOVA, and multiple regression analysis, at the statistically significant level of 0.05The research found the following. (1) The Human resource development of the Bureau of Security, the Secretariat of the House of Representatives was at high level (x = 3.41, S.D.= 0.773), (2) the high performance organization of the Bureau of Security, the Secretariat of the House of Representatives was also at high level (x = 3.52, S.D. = 0.751), (3) by comparison, the individual characteristics different from high performance organization included age, position, work experience, and average monthly income and (4)the factors of human resource development affecting the high performance organization of the Bureau of Security, the Secretariat of the House of Representatives were organization development (Beta = 0.306) followed by individual development (Beta = 0.217) and career development (Beta = 0.105), at the confidence level of 95 percent.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2643001403.pdf2.01 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น