Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13329
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NATTHAYA NAKWAREESUWAN | en |
dc.contributor | ณัฐธยาน์ นาควารีสุวรรณ | th |
dc.contributor.advisor | Noppon Akahat | en |
dc.contributor.advisor | นพพล อัคฮาด | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:37:31Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:37:31Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 20/5/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13329 | - |
dc.description.abstract | This study aimed: (1) to study the operating conditions of talent management process for the Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission, (2) to study the problems of talent management process for the Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission, and (3) to suggest guidelines for developing talent management for the Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission.This study was qualitative research. The key informants for the proposed study consisted of two groups: management, comprising 10 individuals, and operations, comprising 10 individuals, totaling 20 persons selected through purposive sampling. The tool used for this study was a structured interview form. Content analysis was employed to analyze the data and present the results descriptively.The results of this study demonstrated that: (1) The operating conditions of the talent management process for the Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission in the current circumstances should be organized in relation to human resources management, including planning, identification, recruitment and selection, development, retention, and evaluation. (2) The main problem with the talent management process for the Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission The main problem is the lack of a plan or policy for managing talented individuals, leading to no talent management strategy, including identifying talent, recruiting, and selecting talent, developing talent, as well as retaining and evaluating talent. (3) Guidelines for talent management at the Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission should commence with the planning process to ensure a systematic and comprehensive approach. This should initially begin with Identification to recruit talented individuals with knowledge, abilities, skills, and high potential suitable for the organizational context. Recruitment and Selection involve drafting frameworks, rules, and approaches for talent acquisition. Development aims to enhance the knowledge and skills of talented individuals to improve their performance efficiency. Retention and Evaluation involve encouraging and motivating talented individuals to consistently achieve higher performance levels. Additionally, these processes can be linked to organizational engagement and dedicated efforts to achieve sustainable accomplishments and goals. | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการดำเนินงานตามกระบวนการบริหารคนเก่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (2) ปัญหาการดำเนินงานตามกระบวนการบริหารคนเก่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ และ (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารคนเก่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติในการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ ผู้ปฏิบัติงานในระดับผู้บริหารจำนวน 10 คน และระดับปฏิบัติการจำนวน 10 คน จำนวน 20 คน โดยเลือกด้วยวิธีการเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนอผลการศึกษาเชิงพรรณนาผลการศึกษา พบว่า (1) สภาพการดำเนินงานตามกระบวนการบริหารคนเก่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติในปัจจุบันควรมีบริบทที่สอดคล้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตั้งแต่การวางแผนการบริหารคนเก่ง การระบุคนเก่ง การสรรหาคัดเลือกคนเก่ง การพัฒนาคนเก่ง ตลอดจนการธำรงรักษาและประเมินคนเก่ง (2) ปัญหาการดำเนินงานตามกระบวนการบริหารคนเก่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติที่เป็นปัญหาหลักคือไม่มีแผนหรือนโยบายในการบริหารคนเก่ง จึงทำให้ไม่มีการวางแผนการบริหารคนเก่ง การระบุคนเก่ง การสรรหาคัดเลือกคนเก่ง การพัฒนาคนเก่ง ตลอดจนการธำรงรักษาและประเมินคนเก่ง และ (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารคนเก่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ควรจะมีการวางแผนการบริหารคนเก่ง เพื่อให้มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ครบถ้วน สมบูรณ์ โดยเริ่มตั้งแต่การการระบุคนเก่ง เพื่อให้ได้มาซึ่งคนเก่งที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และศักยภาพที่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร การสรรหาคัดเลือกคนเก่ง เพื่อให้ได้มาซึ่งกรอบ กฎเกณฑ์ และวิธีการในการเลือกบุคลากรที่เป็นคนเก่ง การพัฒนาคนเก่งเพื่อเพิ่มพูนความรู้และเพิ่มทักษะความสามารถให้คนเก่ง เพื่อให้คนเก่งสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และการธำรงรักษาและประเมินคนเก่ง เพื่อเป็น การสนับสนุนให้คนเก่งมีแรงจูงใจที่สร้างผลงานในองค์กรอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังก่อให้เกิดความรัก ความผูกพันต่อองค์กร ทุ่มเทการปฏิบัติงานให้องค์กรที่จะนำไปสู่การความสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรอย่างยั่งยืน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | แนวทางการพัฒนา การบริหารคนเก่ง สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ | th |
dc.subject | Guidelines for Developing | en |
dc.subject | Talent Management | en |
dc.subject | The Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Administrative and support service activities | en |
dc.title | Guidelines for Developing the Talent Management of the Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission | en |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการบริหารคนเก่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Noppon Akahat | en |
dc.contributor.coadvisor | นพพล อัคฮาด | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Public Administration (M.P.A.) | en |
dc.description.degreename | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ (รป.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Public Administration | en |
dc.description.degreediscipline | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2643003441.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.