Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรเดช หวังทองth_TH
dc.contributor.authorจุรีภรณ์ แก้วสะเทือนth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:59Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:59Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13414en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีแอปพลิเคชันระบบและผลิตภัณฑ์ในการประมวลผลข้อมูลของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (4) การยอมรับเทคโนโลยีแอปพลิเคชันระบบและผลิตภัณฑ์ในการประมวลผลข้อมูลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์                การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรด้านการจัดซื้อจัดจ้างที่ใช้งานเทคโนโลยีแอปพลิเคชันระบบและผลิตภัณฑ์ในการประมวลผลข้อมูลของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จำนวน 85 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ               ผลของการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์โดยรวมอยู่ในระดับดีมากโดยพบว่าด้านคุณภาพของงานมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีแอปพลิเคชันระบบและผลิตภัณฑ์ในการประมวลผลข้อมูลของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์โดยรวมอยู่ในระดับดี โดยพบว่าการยอมรับถึงประโยชน์มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (3) ปัจจัยส่วนบุคคลไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และ (4) การยอมรับเทคโนโลยีแอปพลิเคชันระบบและผลิตภัณฑ์ในการประมวลผลข้อมูลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ คือ การยอมรับความง่ายในการใช้งาน ด้านทัศนคติต่อการทำงาน และการใช้งานจริง ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน และสามารถอธิบายประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ได้ร้อยละ 74.2th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีแอปพลิเคชันระบบและผลิตภัณฑ์ในการประมวลผลข้อมูลth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยี SAP ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดซื้อจัดจ้างของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์th_TH
dc.title.alternativeAcceptance of SAP technology affecting the procurement efficiency of Chulabhorn Royal Academy.en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: 1) the opinion levels on procurement efficiency in Chulabhorn Royal Academy; 2) the opinion levels on the acceptance of SAP technology in Chulabhorn Royal Academy; 3) personal factors influencing procurement efficiency in Chulabhorn Royal Academy; and 4) the acceptance of SAP technology affecting procurement efficiency in Chulabhorn Royal Academy.This research was a quantitative study. The population used in this study was the personnel working in the procurement department and using SAP technology in Chulabhorn Royal Academy, a total of 85 people. The data collection instrument was a questionnaire. The statistical tools used for analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and hypothesis testing through multiple regression analysis.The results of the study revealed that: 1) The overall opinion level on procurement efficiency in Chulabhorn Royal Academy was very high, with the quality of work receiving the highest average score; 2) The overall opinion level on the acceptance of SAP technology in Chulabhorn Royal Academy was high, with the perceived usefulness of the technology receiving the highest average score; 3) Personal factors did not have a significant impact on procurement efficiency in Chulabhorn Royal Academy; and 4) The acceptance of SAP technology affecting procurement efficiency in Chulabhorn Royal Academy was perceived ease of use, attitude towards work, and actual use. These factors accounted for 74.2% of the variation in procurement efficiency at Chulabhorn Royal Academy.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2653004065.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.