กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13416
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | มณีนุช มนตรีหาญ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:38:00Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:38:00Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13416 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านสมดุลชีวิตกับงานของข้าราชการศาลจังหวัดสมุทรปราการ (2) เปรียบเทียบความเครียดในการปฏิบัติงานของข้าราชการในศาลจังหวัดสมุทรปราการ ตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ปัจจัยด้านสมดุลชีวิตกับงานที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการในศาลจังหวัดสมุทรปราการ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ข้าราชการของศาลจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 60 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 52 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยด้านสมดุลชีวิตกับงานของข้าราชการศาลจังหวัดสมุทรปราการโดยรวม มีค่าเฉลี่ยในระดับน้อย โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านกายภาพ (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันไม่ทำให้ความเครียดในที่ทำงานแตกต่างกัน (3) ปัจจัยด้านสมดุลชีวิตกับงานส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลจังหวัดสมุทรปราการ โดยปัจจัยปัญหาภายในองค์กร ด้านสัมพันธภาพในที่ทำงาน ส่งผลมากที่สุด สามารถพยากรณ์ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.817 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ความเครียด สมดุลชีวิตกับงาน ข้าราชการศาลจังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาเฉพาะกรณี--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | สมดุลชีวิตกับงานที่ส่งผลต่อความเครียดของข้าราชการ ศาลจังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | Work-life balance affecting the stress of Judicial Service Officers in Samut Prakan Province | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed (1) to study the work-life balance factors of judicial service officers in Samut Prakan province, (2) to compare the levels of job stress of judicial service officers in Samut Prakan province by personal characteristics, and (3) to study work-life balance factors affecting the stress of judicial service officers in Samut Prakan province.This study was quantitative research. The population was 60 judicial service officers in Samut Prakan province. The sample size was determined by using the Taro Yamane method, resulting in a sample size of 52 people. The sampling method used in this study was convenience sampling. The study instrument was a questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis.The results of the study found that (1) the work-life balance factors of judicial service officers in Samut Prakan province were at a low level on average overall. The highest ranking factor was the physical aspect. (2) The levels of job stress of judicial service officers in Samut Prakan province were similar in personal characteristics. (3) Work-life balance factors affected the stress of judicial service officers in Samut Prakan province. The internal organizational problem in work relationships was the most influential factor affecting the stress of judicial service officers in Samut Prakan province. It could statistically significantly predict with a multiple correlation coefficient of 0.817. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2653004149.pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น