Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13422
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMUTITA MANMETTAKULen
dc.contributorมุทิตา แมนเมตตกุลth
dc.contributor.advisorWanwipa Muangthamen
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:34Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:34Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued25/6/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13422-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study are: (1) to study the concept, background and importance of asset and liability examination; (2) to study laws related to asset and liability examination in Thailand, United States of America and French Republic; (3) to study problems on the enforcement of the Organic Act on Anti-corruption, B.E. 2561 (2018); and (4) to propose guidelines for improving of the Organic Act on Anti-corruption, B.E. 2561 (2018).This independent study is qualitative research. The data was sourced from books, textbooks, academic articles and laws related to the asset and liability examination, in Thailand, United States of America and French Republic. The data were, then, analyzed to find answers and suggestions.Studied results revealed that; (1) the asset and liability examination conducted by the National Anti-corruption Commission committee was regarded as an important measure for preventing corruption as well as stipulating responsible government officials, (2) the asset and liability examination in Thailand, was studied in comparison to United States of America and French Republic. All three countries agreed on the importance of asset and liabilities examination with some differences in investigation process and civil penalties, (3) there are some implications on the enforcement of the Organic Act on Anti-corruption, B.E. 2561 (2018) whereby the law may not be able to enforce to person living together as husband and wife no matter of genders, with no marriage registration. In addition, there were implications related to the disclosure of asset and liability to the National Anti-Corruption Commission, using the nominees to hold asset and unclear sources of asset and liabilities derived, and (4) the Organic Act on Anti-corruption, B.E.2561 (2018), should be amended.en
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษา แนวคิด ความเป็นมาและความสำคัญของการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของประเทศไทย (2) ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินตามกฎหมายของประเทศไทย ประเทศสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐฝรั่งเศส (3) วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคการบังคับใช้กฎหมายของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน (4) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาโดยการขอแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิจัยจากเอกสาร ผู้ศึกษาได้ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ตำรา บทความทางวิชาการ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินตามกฎหมายของประเทศไทย ประเทศสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐฝรั่งเศส แล้วนำมาวิเคราะห์ หาคำตอบและข้อเสนอแนะ ที่เหมาะสมผลการศึกษาพบว่า (1) ตามแนวคิด ทฤษฎี การใช้อำนาจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินเป็นการตรวจสอบการใช้อำนาจที่สำคัญในการป้องกันการทุจริต (2) การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของประเทศไทย เปรียบเทียบกับของต่างประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสหรัฐอเมริกา และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งได้ให้ความสำคัญ เช่น เดียวกันกับของประเทศไทย แต่อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับการตรวจสอบและบทลงโทษที่แตกต่างกัน (3) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ยังมีช่องว่างของกฎหมาย ไม่สามารถบังคับใช้กับผู้ที่มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินได้ครอบคลุมในบางกรณี เช่น กรณีปัญหาความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการยื่นบัญชีกรณีคู่สมรสว่าควรรวมไปถึงผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภริยาเพศเดียวกัน บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ กรณีปัญหาการเปิดเผยบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรณีปัญหากำหนดความผิดและโทษสำหรับผู้ถือทรัพย์สินแทนผู้ยื่น กรณีปัญหาการแสดงมูลค่าของทรัพย์สิน และกรณีปัญหาเกี่ยวกับพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่าไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินและหนี้สิน (4) ควรแก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ในส่วนของการตรวจสอบทรัพย์สินth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน  ป้องกันการทุจริต  การตรวจสอบเจ้าหน้าที่รัฐth
dc.subjectAsset and liability examinationen
dc.subjectAnti-corruptionen
dc.subjectGovernment officialen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationActivities of extraterritorial organizations and bodiesen
dc.titleLegal problems related to the submission of assets and liabilities under the Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561en
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorWanwipa Muangthamen
dc.contributor.coadvisorวรรณวิภา เมืองถ้ำth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Laws in Public Law (LL.M.)en
dc.description.degreenameนิติศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกกฎหมายมหาชน (น.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Lawsen
dc.description.degreedisciplineนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2584003061.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.