Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNALINPORN PRATUMMASen
dc.contributorนลินพร ประทุมมาศth
dc.contributor.advisorSathita Wimonkunaraken
dc.contributor.advisorสาธิตา วิมลคุณารักษ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:35Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:35Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued27/9/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13430-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก บทบาทของรัฐและมาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการกลั่นแกล้งในโรงเรียน (2) ศึกษาเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการกลั่นแกล้งในโรงเรียนของประเทศไทยกับประเทศฟิลิปปินส์ รัฐฟลอริดาและรัฐแมสซาชูเซตส์ของประเทศสหรัฐอเมริกา และสาธารณรัฐเกาหลี (3) วิเคราะห์ปัญหามาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการกลั่นแกล้งในโรงเรียน (4) เสนอแนะแนวทางแก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายของประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารจากตำรา หนังสือ หนังสือรายงานประจำปี หนังสือแปล วิทยานิพนธ์ ประมวลสาระชุดวิชา สิ่งพิมพ์รัฐบาล รายงานวิจัย บทความ สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และงานวิชาการอื่นๆ เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาศึกษาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ ให้ได้ข้อสรุปและข้อเสนอแนะจากการศึกษาพบว่า (1) รัฐมีหน้าที่ส่งเสริมสิทธิทางการศึกษาและความปลอดภัยให้แก่เด็กแต่ปัญหาการกลั่นแกล้งในโรงเรียนส่งผลร้ายต่อเด็กที่กลั่นแกล้งผู้อื่นที่อาจพัฒนาเป็นอาชญากร เด็กที่ถูกกระทำที่เสียหายในสิทธิเสรีภาพ และเด็กที่เห็นเหตุการณ์ที่ต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม  ซึ่งประเทศไทยไม่มีกฎหมายเฉพาะเพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าว (2) จากการศึกษาพบว่าประเทศที่ศึกษาเปรียบเทียบมีกฎหมายเฉพาะให้โรงเรียนป้องกันการกลั่นแกล้งในโรงเรียน ซึ่งใกล้เคียงกับพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (3) ผลการวิเคราะห์ปัญหาพบว่า  การที่ประเทศไทยไม่มีบทบัญญัติให้โรงเรียนป้องกันการกลั่นแกล้งในโรงเรียน ทำให้โรงเรียนไม่ให้ความสำคัญในการคุ้มครองเด็กและส่งผลกระทบโดยตรงต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (4) ผู้ศึกษา เห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยเพิ่มความหมายของการกลั่นแกล้ง และบัญญัติให้โรงเรียนมีหน้าที่วางมาตรการป้องกันการกลั่นแกล้งอย่างมีแบบแผน และห้ามนักเรียนกลั่นแกล้งผู้อื่น เป็นการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งยังควรจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะในโรงเรียนที่มีตัวแทนจากทุกส่วนที่เกี่ยวข้องให้มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาอีกด้วยen
dc.description.abstractThis independent study aims to (1) explore theoretical concepts regarding child development, the roles of the state, and legal measures for preventing bullying in schools,  (2) compare legal measures for preventing bullying in schools between Thailand, the Philippines, the states of Florida and Massachusetts in the United States, and the Republic of Korea,  (3) analyze legal issues related to preventing bullying in schools, and (4) propose recommendations for improving or amending Thailand's legal framework.This independent study adopts a qualitative research approach, involving an thorough review of documents, such as textbooks, annual reports, translated books, theses, government publications, research papers, articles, online resources, and other academic works to gather data for comparative analysis, concluding with recommendations.The study indicates that: (1) The state is responsible for promoting children's rights to education and safety. However, bullying in schools has detrimental effects on various parties, including the bullies- who may develop criminal tendencies- the victims, whose rights and freedoms are violated, and the bystanders, who are exposed to an unhealthy environment. Currently, Thailand lacks specific legislations to address this issue. (2) The comparative study reveals that the examined countries have specific laws requiring schools to prevent bullying, similar to the Child Protection Act B.E. 2546 (2003) and its amendments. (3) The absence of provisions mandating schools to prevent bullying in Thailand leads to a lack of priority on child protection, which directly impacts the safeguarding of human rights. (4) The researcher recommends amending the Child Protection Act B.E. 2546 (2003) to include a clear definition of bullying, requiring schools to implement structured anti-bullying policies and prohibiting students from engaging in bullying. This would ensure that Thailand fulfills its international obligations. Additionally, the establishment of specialized agencies within schools, involving representatives from all relevant sectors, is suggested to collaboratively tackle the issue.th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectโรงเรียน พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 การกลั่นแกล้งth
dc.subjectSchoolen
dc.subjectChild Protection Act B.E. 2546 (2003)en
dc.subjectBullyingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.subject.classificationSociology and cultural studiesen
dc.titleLegal Measures for Prevention of Bullying in Schoolsen
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการกลั่นแกล้งในโรงเรียนth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathita Wimonkunaraken
dc.contributor.coadvisorสาธิตา วิมลคุณารักษ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Laws in Public Law (LL.M.)en
dc.description.degreenameนิติศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกกฎหมายมหาชน (น.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Lawsen
dc.description.degreedisciplineนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2614001408.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.