Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13461
Title: The Application of Administrative Measures Against Reporting Entities under the Anti-Money Laundering law
การนำมาตรการทางปกครองมาใช้กับผู้มีหน้าที่รายงานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
Authors: VILAWAN LIMPANAWANNAKUL
วิลาวัลย์ ลิมปนะวรรณกูล
Supatra Phanwichit
สุพัตรา แผนวิชิต
Sukhothai Thammathirat Open University
Supatra Phanwichit
สุพัตรา แผนวิชิต
[email protected]
[email protected]
Keywords: สถาบันการเงิน การป้องกัน ปราบปรามการฟอกเงิน
Financial institution
Protection
Suppress Money Laundering
Issue Date:  18
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: This independent study aims to 1) study the appropriateness of the penalty provisions under Section 62 of the Anti-Money Laundering Act B.E. 2542. 2) study and comparative the application of administrative measures on the reporting entities under the anti-money laundering law in Thailand, Malaysia and Philippines. 3) study and analyze the application of administrative measures to take action against those reporting entities according to the law in cases where violations of the law are found. 4) study legal recommendations on the application of administrative measures to deal with those reporting entities.This independent  study by searching from academic documents, books and literature in order to obtain an idea about the measures to take against those who are required to report under the Anti-Money Laundering Act B.E. 2542, the researcher has synthesized and analyzed qualitative data from the content obtained from document research and literature review to be used as a guideline for making recommendations this time.The finding revealed that 1) the punishment according to Section 62 of the Anti-Money Laundering Act B.E. 2542 is appropriate. However, the provisions that will lead to the punishment are still inappropriate because this law is a criminal law. The determination of the procedures that lead to the punishment involves 22 sub-regulations that are issued in detail to expand on one or another offense. This is not in accordance with the criminal principles; no crime, no punishment without law. 2) a comparative study of Malaysia and Philippines that have used administrative measures for the anti-money laundering, such as Malaysia, the countries in the Asian region, have imposed severe administrative penalties on financial institutions that violate the law, and the Philippines has imposed administrative penalties by granting the Financial Intelligence Unit of the Philippines to impose administrative penalties for failing to comply with orders and resolutions. 3) Appropriateness of the application of administrative sanctions to such cases, found that the measures for the reporting entities are measures that prevent the reporting entities to be used to money laundering. Therefore, in the case of non-compliance, it is considered merely a failure to comply with the rules and regulations established to control the peace and order of society as a whole, and the consequences of the violation do not cause serious damage to society. So that, criminal punishment should not be used. 4) Therefore, the recommendation is to introduce administrative penalties for those reporting entities in order to make supervision more appropriate, flexible and also in line with the objectives of the law.
การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงความเหมาะสมของบทกำหนดโทษตามมาตรา 62 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 2) ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการนำมาตรการทางปกครองมาใช้กับผู้มีหน้าที่รายงานตามกฎหมายฯ ของประเทศไทยประเทศมาเลเซียและประเทศฟิลิปปินส์ 3) ศึกษาวิเคราะห์การนำมาตรการทางปกครองมาใช้ในการดำเนินการกับผู้มีหน้าที่รายงานตามกฎหมายฯ ในกรณีพบการฝ่าฝืนการปฏิบัติตามกฎหมายกำหนด 4) เสนอแนะข้อกฎหมายเกี่ยวกับการนำมาตรการทางปกครองมาใช้ในการดำเนินการกับผู้มีหน้าที่รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายที่เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการค้นคว้าจากเอกสารทางวิชาการ หนังสือ วรรณกรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวความคิดเกี่ยวกับมาตรการในการดำเนินการกับผู้มีหน้าที่รายงานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ซึ่งผู้วิจัยได้สังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพผลการศึกษาพบว่า 1) โทษตามมาตรา 62 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มีความเหมาะสมแล้ว เพียงแต่ข้อกำหนดที่จะนำไปสู่การลงโทษยังขาดความเหมาะสม เนื่องจากกฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายอาญา การกำหนดวิธีปฎิบัติที่นำไปสู่การลงโทษเกี่ยวข้องกับอนุบัญญัติถึง 22 ฉบับที่ออกรายละเอียดเพื่อขยายความผิดอย่างหนึ่งอย่างใด ถือว่าไม่เป็นไปตามหลักการทางอาญาในเรื่อง “ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่าเป็นความผิด 2) การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศมาเลเซียและประเทศฟิลิปปินส์ มีการนำโทษทางปกครองมาใช้สำหรับการป้องกันการฟอกเงิน พบว่าประเทศในภูมิภาคเอเชีย เช่น ประเทศมาเลเซียได้กำหนดโทษทางปกครองสำหรับสถาบันการเงินที่ฝ่าฝืนกฎหมายไว้อย่างรุนแรง และประเทศฟิลิปปินส์ ได้กำหนดการลงโทษทางปกครองโดยให้อำนาจ หน่วยข่าวกรองทางการเงินของฟิลิปปินส์ในการกำหนดบทลงโทษทางปกครองที่ละเมิดกฎหมาย และกฎและข้อบังคับด้านการต่อต้านการฟอกเงิน 3) การศึกษาวิเคราะห์เพื่อนำมาตรการทางปกครองมาใช้กับกรณีดังกล่าว พบว่ามาตรการสำหรับผู้มีหน้าที่รายงานเป็นมาตรการเพื่อป้องกัน ดังนั้น ในกรณีการฝ่าฝืนการปฎิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย จึงมีลักษณะเป็นการกระทำที่เป็นเพียงการไม่ได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่บัญญัติขึ้นเพื่อควบคุมความสงบเรียบร้อยของสังคมทั่วไปโดยที่ผลของการฝ่าฝืนไม่ได้ส่งผลเสียหายต่อสังคมอย่างร้ายแรง จึงไม่ควรนำมาตรการการลงโทษทางอาญามาใช้ 4) เสนอให้มีการนำโทษทางปกครองมาใช้กับผู้มีหน้าที่รายงานธุรกรรมเพื่อให้การกำกับตรวจสอบมีความเหมาะสม ยืดหยุ่นและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมาย
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13461
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2634002923.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.