Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13482
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPONGSAPON KEERATISOPAen
dc.contributorพงศพล กีรติโสภาth
dc.contributor.advisorVaraporn Vanaphituken
dc.contributor.advisorวราภรณ์ วนาพิทักษ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:46Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:46Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued2/10/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13482-
dc.description.abstractThe purposes of this independent study with the topic of Legal Issues Concerning the Criteria for Filing a Lawsuit for Compensation for Unfair Dismissal Under the Act on the Establishment of and Procedure for Labor Court Act B.E. 2522 (1979) are; (1) to study the theoretical concepts related to lawsuits for damages due to unfair dismissal according to the Act on the Establishment of and Procedure for Labor Court Act B.E. 2522 (1979), (2) to study Thai law and compare to the law of the United Kingdom and French concerning lawsuits for damages due to unfair dismissal under the same Act, (3) to analyze issues and solutions regarding lawsuits for damages due to unfair dismissal according to the Act on the Establishment of and Procedure for Labor Court Act B.E. 2522 (1979), and (4) to provide useful recommendations for solving problems related to lawsuits for damages due to unfair dismissal under this Act.This research is a qualitative study using document research methods by studying Thailand, the United Kingdom and French laws, regulations, governmental documents, articles, journals, and thesis. The researcher systematically collected data and used qualitative analysis and synthesis from the content obtained through documentary research and literature review to establish guidelines for lawsuits for damages due to unfair dismissal under to the Act on the Establishment of and Procedure for Labor Court Act B.E. 2522 (1979).The study found that (1) the concepts related to lawsuits for damages due to unfair dismissal include job security, labor as property, personnel management, job risk insurance, measures to protect employees in case of dismissal, damages related to employment contracts, and unfair dismissal concepts. (2) Thailand has laws concerning lawsuits for damages due to unfair dismissal, such as Section 49 of to the Act on the Establishment of and Procedure for Labor Court Act B.E. 2522 (1979). As for foreign laws, the United Kingdom is The Employment Rights Act 1996 and Franch is Labor Code (Code du Travail) (3) Thai law has not yet established clear criteria for lawsuits for damages due to unfair dismissal. (4) Thailand should specify clear criteria for lawsuits for damages due to unfair dismissal in Section 49 of to the Act on the Establishment of and Procedure for Labor Court Act B.E. 2522 (1979) to ensure fairness between employers and employees who suffer damages, and to serve as a standard for fair law enforcement in the future.en
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 (2) ศึกษากฎหมายไทยและเปรียบเทียบกับกฎหมายของสหราชอาณาจักรและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่เกี่ยวข้องกับการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 (3) วิเคราะห์ประเด็นปัญหาและแนวทางแก้ไขในเรื่องการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 (4) เสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพวิธีวิจัยเอกสาร โดยศึกษาจากกฎหมาย รวมถึงกฎ ระเบียบ หนังสือของหน่วยงานรัฐ บทความ วารสาร วิทยานิพนธ์ ของประเทศไทย สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์จากเนื้อหาที่ได้จากการวิจัยเอกสารและการทบทวนวรรณกรรม เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับความมั่นคงในการทำงาน แนวคิดเกี่ยวกับแรงงานเป็นทรัพย์สิน แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารบุคคล แนวคิดของการประกันความเสี่ยงในการทำงาน มาตรการในการคุ้มครองลูกจ้างในกรณีเลิกจ้าง แนวคิดในเรื่องค่าเสียหายเกี่ยวกับสัญญาจ้างแรงงานและแนวคิดเกี่ยวกับการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม (2) ประเทศไทยมีกฎหมายเกี่ยวกับการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ได้แก่ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49 ส่วนกฎหมายต่างประเทศ กฎหมายสหราชอาณาจักร ได้แก่ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ค.ศ. 1996 และกฎหมายของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้แก่ ประมวลกฎหมายแรงงานสาธารณรัฐฝรั่งเศส (3) กฎหมายของประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดหลักเกณฑ์ในการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม (4) ประเทศไทยควรกำหนดหลักเกณฑ์ในการฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมให้ชัดเจนลงในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49 เพื่อให้เกิดความเสมอภาคระหว่างนายจ้างและลูกจ้างที่ได้รับความเสียหาย และเป็นบรรทัดฐานในการบังคับใช้กฎหมายได้อย่างเป็นธรรมต่อไปในอนาคตth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม การฟ้องคดี ค่าเสียหายth
dc.subjectUnfair dismissalen
dc.subjectLitigationen
dc.subjectCompensationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationPolitical science and civicsen
dc.titleLegal Issues Concerning the Criteria for Filing a Lawsuit for Compensation for Unfair Dismissal Under the Act on the Establishment of and Procedure for Labor Court  Act B.E. 2522 (1979)en
dc.titleปัญหากฎหมายเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorVaraporn Vanaphituken
dc.contributor.coadvisorวราภรณ์ วนาพิทักษ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Laws in Business Law (LL.M.)en
dc.description.degreenameนิติศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ (น.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Lawsen
dc.description.degreedisciplineนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2654000336.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.