Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13507
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | RITTICHAI SOMPAIBOON | en |
dc.contributor | ฤทธิชัย สมไพบูลย์ | th |
dc.contributor.advisor | Supatra Phanwichit | en |
dc.contributor.advisor | สุพัตรา แผนวิชิต | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:47:53Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:47:53Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 11/11/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13507 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this independent study are to (1) examine concepts and theories related to Special Measures in lieu of Criminal Prosecution in the juvenile justice system; (2) conduct the comparative study of the juvenile justice process and the models of special measures in lieu of criminal prosecution in Thailand and other countries, namely England, the French Republic, and New Zealand; (3) analyze the criteria, methods, and conditions for implementing special measures in lieu of criminal prosecution under the Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Case Procedure Act B.E. 2553 (2010); and (4) propose the recommendations for solutions and development of special measures in lieu of criminal prosecution under the Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Case Procedure Act B.E. 2553 (2010). This independent study is qualitative research. Data collection involves gathering information from various documents, laws, conventions, regulations, criminal codes and ordinances, as well as other sources such as textbooks, research papers, theses, dissertations, academic articles, and electronic media related to special measures in lieu of criminal prosecution. The collected data is then subjected to content analysis. The study findings reveal that (1) special measures in lieu of criminal prosecution are implemented for diversion from the regular justice system, applying restorative justice concepts to protect the welfare and uphold the best interests of children and youth; (2) the studied countries employ different models of special measures, such as family group conferencing, mediation, and the Wagga Wagga cautioning approach, while Thailand uses a rehabilitation plan conference model similar to New Zealand's family group conferencing; (3) Thailand's special measures at pre-trial and trial stages categorize cases based on maximum prison sentences, which is considered unsuitable. Furthermore, the rehabilitation planning process lacks emphasis on community representative participation; (4) recommendations include amending the criteria and methods for using special measures at pre-trial and trial stages, as well as modifying the composition of participants in rehabilitation planning meetings. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน (2) ศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน และรูปแบบการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในประเทศไทยและต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอังกฤษ สาธารณรัฐฝรั่งเศส และประเทศนิวซีแลนด์ (3) ศึกษาวิเคราะห์ถึงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 (4) แนะแนวทางแก้ไขพัฒนามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆ กฎหมาย อนุสัญญา ข้อกำหนด กฎระเบียบและข้อบังคับ รวมถึงเอกสารอื่นๆ ได้แก่ ตำรา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ สาระนิพนธ์ บทความทางวิชาการ และข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงเนื้อหาได้ผลอย่างไร ผลการศึกษา พบว่า (1) มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาถูกนำมาใช้เพื่อหันเหคดีออกจากกระบวนการยุติธรรมปกติ โดยนำแนวคิดยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาประยุกต์ใช้เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพและยึดหลักประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชนเป็นสำคัญ (2) มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในประเทศที่ศึกษามีรูปแบบแตกต่างกัน เช่น การประชุมกลุ่มครอบครัว การไกล่เกลี่ย และการเตือนอย่างมีเงื่อนไข สำหรับประเทศไทยใช้รูปแบบประชุมจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูซึ่งมีลักษณะคล้ายกับการประชุมกลุ่มครอบครัวของประเทศนิวซีแลนด์ (3) มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาของประเทศไทยในชั้นก่อนฟ้องและชั้นพิจารณามีหลักเกณฑ์แยกประเภทคดีจากอัตราโทษจำคุกอย่างสูงซึ่งเห็นว่ายังไม่เหมาะสม นอกจากนี้ กระบวนการจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูยังขาดการให้ความสำคัญการมีส่วนร่วมของผู้แทนชุมชน (4) เสนอแนะให้มีการแก้ไขพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟ้องและชั้นพิจารณา รวมถึงเสนอแนะให้มีการแก้ไของค์ประกอบผู้เข้าร่วมประชุมการจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟู | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา การกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ | th |
dc.subject | Special Measures in lieu of Criminal Prosecution | en |
dc.subject | Juvenile delinquency | en |
dc.subject | Restorative justice | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Journalism and reporting | en |
dc.title | Special Measures in lieu of Criminal Prosecution in the Juvenile Justice System under the Juvenile and Family Court and Procedure Act B.E. 2553 (2010) | en |
dc.title | การศึกษามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Supatra Phanwichit | en |
dc.contributor.coadvisor | สุพัตรา แผนวิชิต | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Laws in Criminal Law and Criminal Justice (LL.M.) | en |
dc.description.degreename | นิติศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม (น.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Laws | en |
dc.description.degreediscipline | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2654001839.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.