Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHAIDAEN PAWACOTen
dc.contributorชายแดน ภาวะโคตรth
dc.contributor.advisorChalermsak Toomhirunen
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:10Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:10Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued18/11/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13532-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1) basic social and economic conditions of bambusa multiplex production farmers in Phu Kradung district, Loei province 2) the adoption of technology in bambusa multiplex production of bambusa multiplex production farmers in Phu Kradung district, Loei province 3) problems and suggestions about the adoption of technology in bambusa multiplex production of bambusa multiplex production farmers in Phu Kradung district 4) needs in the form and method of extension in the adoption of technology in bambusa multiplex production of farmers in Phu Kradung district, Loei province. This research is survey research. The population in this study consisted of 460 bambusa multiplex farmers in Phu Kradueng district. The sample group of 214 farmers was selected using Taro Yamane's formula with an error of 0.05 and simple random sampling. Tool used in this study was interview form. Data were analyzed by using statistics such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, ranking, and content analysis. The results of the study found out that 1) majority of the farmers were female with the average age of 35.57 years old. 53.98% of them completed primary school education. Their average member in the household was 4.4 people, the highest labor in the household was 2 people with the average number of 2.87 people, and the average income of the farmer household was 135,010.75 Baht with the average income from the agricultural sector of 101,771.03 Baht and outside of the agricultural sector of 50,448.94 Baht. Most of the farmer owned their own land at 96.73% with the average area of 16.06 Rai. Apart from growing bambusa multiplex, 91.59% of farmers grew rice, and 49.07% were members and clients of BAAC. 2) For bamboo planting technology, most farmers used 4x4 meter spacing, 62.62% used flood irrigation system, 46.73% used water from ponds, and the frequency of watering was mostly more than 5 days/time (42%). For soil improvement, 77.10% used chemical fertilizers, and 97.2% used chemical pesticides for pest control. 83.18% of products have not received certification, 98.13% sold their production to the sellers within the village, and the forms of bamboo shoot product distribution were both fresh and processed bamboo shoots. Farmers earned the average income from bambusa multiplex production of 29,309.25 Baht/Rai and the cost of production per Rai was 4,164.64 Baht. (3) Problem regarding the production was at the moderate level. Second to that was the problems about funding and water resource, pricing and distribution of products. (4) The extension guidelines for farmers in Phu Kradueng district revealed that farmers wanted to receive support on knowledge for quality and quantity production of bamboo shoots, financial support for better water management systems, marketing promotion, increase in marketing channels, promotion of group formation, and network creation to strengthen bamboo shoot production farmer group.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาสภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกไผ่เลี้ยง ในอำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย2) การใช้เทคโนโลยีการปลูกไผ่เลี้ยงของเกษตรกรผู้ปลูกไผ่เลี้ยง ในอำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย 3) ปัญหา และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีการปลูกไผ่เลี้ยงของเกษตรกรในอำเภอภูกระดึง  4) ความต้องการในรูปแบบและวิธีการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการปลูกไผ่เลี้ยงของเกษตรกรในอำเภอภูกรดึง จังหวัดเลยการวิจัยคครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาศึกษาครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างผู้ปลูกไผ่เลี้ยงในอำเภอภูกระดึง จำนวน 214 ราย จากเกษตรกรผู้ปลูกไผ่เลี้ยงในอำเภอภูกระดึงจำนวน 460 ราย โดยใช้สูตรของทาโร         ยามาเน ที่ระดับความคลาดเคลื่อน ร้อยลละ 0.05 สุ่มตัวอย่างแบบง่าย  เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดลำดับ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาจังหวัดเลย ผลการศึกษา พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่ 56.54.8 เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 37.57 ปี ร้อยละ 53.98 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.4 คน แรงงานในครัวเรือนมากสุดคือ 2 คน  เฉลี่ย 2.87 คน รายได้ของครัวเรือนเกษตรกร เฉลี่ย 135,010.75 บาท เป็นรายได้ภาคการเกษตร เฉลี่ย 101,771.03 บาท นอกภาคการเกษตร เฉลี่ย 50,448.94 บาท เกษตรกรส่วนใหญ่มีที่ดินเป็นของตนเอง ร้อยละ 96.73  เฉลี่ยพื้นที่ 16.06 ไร่ นอกจากปลูกไผ่แล้ว เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าวร้อยละ 91.59  การเป็นสมาชิกของเกษตรกร ส่วนใหญ่เป็นลูกค้า ธกส.คิดเป็นร้อยละ 49.ปี (2) เทคโนโลยีที่ใช้ในการปลูกไผ่ ส่วนใหญ่ปลูกไผ่ระยะห่าง 4x4 เมตร การให้น้ำส่วนใหญ่ให้น้ำด้วยระบบปล่อยน้ำราด ร้อยละ 62.62 ส่วนใหญ่ใช้น้ำจากบ่อน้ำคิดเป็นร้อยละ 46.73 ความถี่ในการให้น้ำส่วนใหญ่มากกว่า 5 วันต่อครั้ง         ร้อยละ 42. การปรับปรุงบำรุงดินส่วนใหญ่ใช้ปุ๋ยเคมี ร้อยละ 77.10  มีการใช้สารเคมีที่ป้องกันโรคแมลงร้อยละ 97.2 ผลผลิตส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ร้อยละ 83.18 ด้านการตลาดการจำหน่ายผลผลิตส่วนใหญ่จำหน่ายให้กับพ่อค้าในหมู่บ้าน ร้อยละ 98.13 รูปแบบการจำหน่ายผลผลิตทั้งหน่อไม้สดและหน่อไม้แปรรูปร้อยละ เกษตรกรมีรายได้จากการปลูกไผ่ เฉลี่ย ไร่ละ 29309.25 บาท ต้นทุนการผลิตไผ่ ไร่ละ 4,164.64 บาท (3)ปัญหาด้านการผลิตอยู่ในระดับ      ปานกลาง รองลงมาได้แก่ปัญหาเรืองเงินทุนและแหล่งน้ำ ปัญหาเรื่องราคาและจำหน่ายผลผลิต  (4)แนวทางในการส่งเสริมเกษตรกรผู้ปลูกหน่อไม้ในอำเภอภูกระดึง พบว่าเกษตรกรกรต้องการได้รับการสนับสนุนด้านความรู้ในการผลิตหน่อไม้ให้ได้ปริมาณและคุณภาพ การสนับสนุนเงินทุนเพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการระบบน้ำได้ดียิ่งขึ้น การส่งเสริมการตลาด เพิ่มช่องทางตลาด ส่งเสริมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายเพื่อความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกไผ่เลี้ยงth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการส่งเสริม การปลูกไผ่เลี้ยง อำเภอภูกระดึง จังหวัดเลยth
dc.subjectExtensionen
dc.subjectBambusa multiplex productionen
dc.subjectPhu kradung Districten
dc.subjectLoei  Provinceen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishingen
dc.subject.classificationHorticultureen
dc.titleExtension of Growing Bambusa Multiplex in Phu kradung District,Loei Provinceen
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการการปลูกไผ่เลี้ยง ในอำเภอภูกระดึงจังหวัดเลยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChalermsak Toomhirunen
dc.contributor.coadvisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Agriculture in Agricultural Extension and Development (M.Ag. (Agricultural Extension and Development))en
dc.description.degreenameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Agriculture (Agricultural and Development)en
dc.description.degreedisciplineเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2619001205.pdf906.15 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.