Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupawadee Ketsuwonen
dc.contributorสุภาวดี เกศสุวรรณth
dc.contributor.advisorSujja Banchongsirien
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:12Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:12Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued10/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13542-
dc.description.abstractThis research was aimed to 1) study on methods rubber plantation management of farmer 2) assess potential of farmers grow rubber for enter the guidelines sustainable forest management for farmers 3) Make guidelines for developing sustainable rubber plantation management.                      This research is a mixed methods research. 1) Quantitative Research data, The study population in Ban Plyrum rubber plantation. There are 137 people registered with the rubber authority of Thailand.  The size was determined according to the Taro Ya Mane formula, the error value was 0.05, resulting in a sample size of 110 people. The tools used was questionnaires, data were analyzed using descriptive statistic. 2) Qualitative research select specific informants from  officials of the Rubber Authority of Thailand, Nathawee Branch, and related farmer promotion officials totaling 5 people and 5 rubber farmers.  The tool used was a group meeting recording form. Qualitative data were analyzed by content analysis.                       The results of the research found that 1) rubber plantation management of farmer most of them grow rubber in the hillsides, using the RRIM 600 rubber variety. pests control uses chemicals. the products sold is fresh latex. and every farmer sells their produce to middlemen. 2) Evaluation of farmers potential (1) Regarding knowledge of the 10 principles of sustainable forest management. It was found that the majority, more than 50 percent, of farmers do not have knowledge. (2) Evaluation of practical potential found that Principle 1: 63.0% do not comply with the consistency between the law and various principles of the FSC. Principle 2: 80.9% do not comply with the rights to ownership and use of land. Principle 4: 64.0% do not comply with the relationship with the community. Principles Item 5: 53.0 percent do not comply with forest benefits. Principle 6: 56.3 percent do not comply with environmental impacts. Principle 7: 85.5 percent do not practice setting principles in writing. Principle 8: 94.5 percent do not practice monitoring, supervision, and evaluation. Principle 9: 72.1 percent do not practice restoring forests with high conservation value. And principle 10: 73.6 percent do not practice area management planning.  3) Guidelines for developing sustainable rubber plantation management (1) Learning of farmers and the new generation to have knowledge about sustainable rubber plantation management. and exchange knowledge with other groups.  (2) Production development There is a plan for reaching the standard. And the garden is managed with safety and certification in mind. (3) Promotion of officials Knowledge lessons are extracted from the prototype. Create a prototype rubber plantation Develop farmers to have knowledge Manage land rights documents and there is the preparation of organic fertilizer.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิธีการจัดการสวนยางพาราของเกษตรกรบ้านปลายรำ 2) ประเมินศักยภาพของเกษตรกรที่ปลูกยางพาราเพื่อเข้าสู่แนวทางการจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืนของเกษตรกร 3) จัดทำแนวทางการพัฒนาการจัดการสวนยางพาราอย่างยั่งยืนการวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี คือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรชาวสวนยางพาราบ้านปลายรำ ที่ขึ้นทะเบียนกับการยางแห่งประเทศไทย จำนวน 137 คน กำหนดขนาดตามสูตรทาโร ยามาเน ที่ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 110 ราย  เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ เลือกผู้ให้ข้อมูลเจาะจงจากเจ้าหน้าที่การยางแห่งประเทศไทย สาขานาทวี เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรกรเกี่ยวข้อง จำนวน 5  ราย และเกษตรกรชาวสวนยางพารา จำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบบันทึกการประชุมกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการสวนยางพาราของเกษตรกร ส่วนใหญ่ปลูกยางพาราเชิงเขา ใช้พันธุ์ยาง RRIM 600 การกำจัดศัตรูพืชโดยใช้สารเคมี ผลผลิตที่จำหน่ายคือน้ำยางสด และเกษตรกรทุกรายจำหน่ายผลผลิตให้พ่อค้าคนกลาง 2) การประเมินศักยภาพของเกษตรกร (1) ด้านความรู้ในหลักการจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืนทั้ง 10 หลักการ พบว่า ส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 50 เกษตรกรไม่มีความรู้ (2) การประเมินศักยภาพด้านการปฏิบัติ พบว่า หลักการข้อ 1 ร้อยละ 63.0 ไม่ปฏิบัติเรื่องความสอดคล้องระหว่างกฎหมายกับหลักต่างๆของ FSC หลักการข้อ 2 ร้อยละ 80.9 ไม่ปฏิบัติเรื่องสิทธิการถือครองการใช้ประโยชน์จากที่ดิน หลักการข้อ 4 ร้อยละ 64.0 ไม่ปฏิบัติเรื่องความสัมพันธ์ต่างๆกับชุมชน หลักการข้อ 5 ร้อยละ 53.0 ไม่ปฏิบัติเรื่องผลประโยชน์จากป่าไม้ หลักการข้อ 6 ร้อยละ 56.3 ไม่ปฏิบัติเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หลักการข้อ 7 ร้อยละ 85.5 ไม่ปฏิบัติเรื่องกำหนดหลักการเป็นลายลักษณ์อักษร หลักการข้อ 8 ร้อยละ 94.5 ไม่ปฏิบัติเรื่องการตรวจตรากำกับดูแลและประเมินผล หลักการข้อ 9 ร้อยละ 72.1ไม่ปฏิบัติเรื่องการฟื้นฟูป่าไม้ที่มีคุณค่าต่อการอนุรักษ์สูง และหลักการข้อ 10 ร้อยละ 73.6 ไม่ปฏิบัติเรื่องการวางแผนการจัดการพื้นที่ 3) แนวทางการพัฒนาการจัดการสวนยางพาราอย่างยั่งยืน (1) ด้านการเรียนรู้ของเกษตรกรและคนรุ่นใหม่ให้มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการสวนยางพาราอย่างยั่งยืน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มอื่น (2) ด้านการพัฒนาการผลิต มีแผนงานเพื่อการเข้าสู่มาตรฐาน และมีการจัดการสวนโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและการรับรองมาตรฐาน (3) ด้านการส่งเสริมของเจ้าหน้าที่ มีการถอดบทเรียนองค์ความรู้จากต้นแบบ สร้างสวนยางพาราต้นแบบ พัฒนาเกษตรกรให้มีองค์ความรู้ จัดการเอกสารสิทธิที่ดิน และมีการจัดทำปุ๋ยอินทรีย์th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectแนวทางการพัฒนา การจัดการสวนยางพารา การจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืนth
dc.subjectDevelopment Guidelinesen
dc.subjectPara Rubber Plantation Managementen
dc.subjectforest managementen
dc.subjectSustainabilityen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishingen
dc.titleGuidelines for Developing Rubber Plantation Management According to Sustainable Forest  Management Standards, Ban Plai Ram, Nathawi Subdistrict, Nathawi District, Songkhla Provinceen
dc.titleแนวทางการพัฒนาการจัดการสวนยางพาราตามมาตรฐานการจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืนบ้านปลายรำ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSujja Banchongsirien
dc.contributor.coadvisorสัจจา บรรจงศิริth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Agriculture in Agricultural Resource Management (M.Ag. (Agricultural Resources Management))en
dc.description.degreenameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทรัพยากรเกษตร (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Agriculture (Agricultural Resources Management)en
dc.description.degreedisciplineเกษตรศาสรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2649000102.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.