Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13706
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา รอดสมบุญth_TH
dc.contributor.authorกมลรัตน์ ชัยมงคลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:58:04Z-
dc.date.available2025-01-24T08:58:04Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13706en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิก 2) ระดับความสำคัญของคุณภาพการบริการของสหกรณ์ 3) เปรียบเทียบระดับคุณภาพการบริการของสหกรณ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิก และ 4) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการบริการของสหกรณ์การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรตะพานหิน จำกัด จังหวัดพิจิตร กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้การคำนวณจากสูตรที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนของดับเบิลยู จี โคเชน ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 210 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายและใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบทีและเอฟ และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิก ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 41 – 50 ปี การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย รายได้ต่อเดือน 9,001 – 10,000 บาท และมีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน  2) ระดับความสำคัญของคุณภาพการบริการของสหกรณ์ พบว่า อยู่ในระดับมาก ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการ ด้านเจ้าหน้าที่ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านความน่าเชื่อถือ และด้านภาพลักษณ์ ตามลำดับ 3) เปรียบเทียบระดับคุณภาพการบริการของสหกรณ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่แตกต่างกัน มีความเห็นต่อระดับคุณภาพการบริการของสหกรณ์แตกต่างกันในทุกด้าน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และ 4) ข้อเสนอแนะ สหกรณ์ควรให้ความสำคัญ การจัดการด้านคุณภาพการให้บริการ ได้แก่ ด้านกระบวนการ ด้านเจ้าหน้าที่ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านความน่าเชื่อถือ และด้านภาพลักษณ์ เพื่อให้ครอบคลุมสมาชิกทุกกลุ่มและตรงตามความต้องการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรตะพานหิน--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleคุณภาพการบริการของสหกรณ์การเกษตรตะพานหิน จำกัดth_TH
dc.title.alternativeService quality of Taphanhin Agricultural Cooperative Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives were to study 1) personal factors of cooperative members 2) importance level of cooperative service quality 3) compare the level of cooperative service quality classified by personal factors of cooperative members and 4) recommendation for developing cooperative services.The study was done by survey method. The population of this study was members of Taphanhin Agricultural Cooperative Limited, Phichit Province. The sample size was 210 people which determined using calculations from the formula without knowing population of W.G. Cochran at 95 percent confidence level by using simple random sampling and questionnaire for data collection. The statistics was used to analyze data such as frequency, percentage, mean score, standard deviation, t-test and F-test and content analysis.The results of the study found that 1) The most personal factors of members were male, age 41–50 years, secondary education level, monthly income 9,001–10,000 baht and household members 3–4 people. 2) The important level of cooperative service quality was high level for all five aspects such as process, staff, assurance, reliability, and image, respectively. 3) The comparison of the level of cooperative service quality classified by personal factors found that different group of gender, age, education, monthly income and household member had different opinions on the level of cooperative service quality in all aspects at a statistical significance level of 0.05. and 4) The recommendations were the cooperative should focus on improving service quality management such as process, staff, assurance, reliability, and image to meet all groups of members and meet their needs.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2659002733.pdf909.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.