Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sureerat Wongchuen | en |
dc.contributor | สุรีรัตน์ วงษ์ชื่น | th |
dc.contributor.advisor | Chalermsak Toomhirun | en |
dc.contributor.advisor | เฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:58:09Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:58:09Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 7/12/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13718 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study 1) coconut production and the use of technology for coconut pest control of farmers 2) practice according to good agricultural practices 3) extension guidelines regarding coconut pest control of farmers 4) model development of sustainable coconut pest control of farmers and 5) the evaluation of the efficiency of the extension model for sustainable coconut pest control of farmers. This research was mixed method research. The population included 1) 12 expert farmers in coconut production; 2) 257 farmers who participated in coconut collective farming project. The sample size of 156 was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 through simple random sampling method ; 3) 30 farmers who were selected by using purposive sampling method ; 4) 6 scholars and experts through purpose sampling method. Data were collected by conducting in-depth interview, interview, evaluation according to the evaluation form, and focus group. Data were analyzed by using descriptive statistics, composition analysis, and content analysis The results of the research found that 1) most of the coconut production farmers produced coconut by preparing the seedlings themselves, grew the area in the shape of square, had the average coconut age of 33.33 years, applied chicken dung fertilizer and chemical fertilizer through sowing, did not trim the coconut leaves, controlled the weeds by using lawn mower , knew about coconut rhinoceros beetle, asiatic palm weevil, coconut black-headed caterpillar, and coconut hispine beetle, harvested by using the stick, sold immediately after harvesting with the hard shells.They used technology in coconut pest control at the moderate level but needed the extension at the high level, had knowledge regarding weed control by using cultivation method, biologicial method, and chemical method mixed together in coconut pest control. They received the knowledge from agricultural extension officers. 2) Farmers practiced according to good agricultural practices at the high level. They needed the extension at the highest level except for data recording which was at the high level. 3) The extension guidelines were in the form of the extension from the government agencies through the use of pamphlets, manuals, posters through demonstration method and practice. 4) The extension model in sustainable coconut control of farmers had 4 components which consisted of (1) safety environmental management; (2) the extension of group formation for sustainability; (3) pest control by using chemicals; and (4) weed control by using biological method which developed into sustainable coconut pest control model (A-KTM-F-S). There were 6 parts in the model which included agricultural extensionist, knowledge, technology, learning method, farmer, and sustainability. 5) Efficiency of model was at the highest level regarding the appropriateness, the probability in the adaptation to practice, the compatibility with the context, and the capability to real usage. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การผลิตมะพร้าวและการใช้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูมะพร้าวของเกษตรกร 2) การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 3) แนวทางการส่งเสริมการควบคุมศัตรูมะพร้าวของเกษตรกร 4) พัฒนาโมเดลการควบคุมศัตรูมะพร้าวอย่างยั่งยืนของเกษตรกร และ 5) ประเมินประสิทธิภาพของโมเดลการส่งเสริมการควบคุมศัตรูมะพร้าวอย่างยั่งยืนของเกษตรกร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ประชากร คือ 1) เกษตรกรผู้เชี่ยวชาญในการปลูกมะพร้าว จำนวน 12 ราย2) เกษตรกรผู้ร่วมโครงการแปลงใหญ่มะพร้าว จำนวน 257 ราย กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน ที่ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 156 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย 3)นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 6 ราย 4) เกษตรกร คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง โดยมีประสบการณ์ในการปลูกมะพร้าวมากกว่า 10 ปี จำนวน 30 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และทำแบบประเมิน ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์องค์ประกอบ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่ผลิตมะพร้าวโดยเตรียมต้นพันธุ์ด้วยตนเอง แปลงปลูกมะพร้าวแกง ปลูกแบบสี่เหลี่ยมจตุรัส อายุมะพร้าวเฉลี่ย 33.33 ปี ใส่ปุ๋ยขี้ไก่และปุ๋ยเคมี โดยการหว่าน ไม่ตัดแต่งทางมะพร้าว กำจัดวัชพืชโดใช้เครื่องตัดหญ้า รู้จักความสำคัญลักษณะการทำลายด้วงแรดมะพร้าว ด้วงงวงมะพร้าว หนอนหัวดำมะพร้าว และแมลงดำหนามมะพร้าว เก็บเกี่ยวโดยใช้ไม้สอย จำหน่ายทันที และจำหน่ายทั้งเปลือก มีการใช้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูมะพร้าวในระดับปานกลาง แต่มีความต้องการส่งเสริมการใช้แตนเบียนบราคอนกำจัดหนอนหัวดำมะพร้าว และกําจัดต้นมะพร้าวที่ยืนต้นตายในระดับมาก มีความรู้ด้านการป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยใช้วิธีเขตกรรม ชีววิธี และการใช้สารเคมีร่วมกันในการกำจัดศัตรูมะพร้าว โดยได้รับความรู้จากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 2) เกษตรกรปฏิบัติตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในระดับมาก และมีความต้องการส่งเสริมด้านการเลือกพันธุ์ที่มีคุณภาพ ตรงตามพันธุ์ และสำรวจการทำลายของศัตรูมะพร้าว อยู่ในระดับมากที่สุด ยกเว้นการบันทึกข้อมูลมีความต้องการในระดับมาก 3) แนวทางการส่งเสริมจากหน่วยงานราชการโดยใช้สื่อแผ่นพับ คู่มือ โปสเตอร์ ผ่านวิธีการสาธิต และการฝึกปฏิบัติ 4) โมเดลการส่งเสริมการควบคุมศัตรูมะพร้าวอย่างยั่งยืนของเกษตรกร มี 4 องค์ประกอบ คือ (1) การบริหารสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย (2) การส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อความยั่งยืน (3) การป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยใช้สารเคมี และ (4) การกำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี พัฒนาเป็นโมเดลการควบคุมศัตรูมะพร้าวอย่างยั่งยืน A-KTM-F-S จำนวน 6 ส่วน ประกอบด้วย นักส่งเสริมการเกษตร องค์ความรู้ เทคโนโลยี วิธีการเรียนรู้ เกษตรกร และความยั่งยืน 5) ประสิทธิภาพของโมเดลอยู่ในระดับมากที่สุด ในด้านความเหมาะสม ความเป็นได้ในการนำไปปฏิบัติ ความสอดคล้องกับบริบท และความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | โมเดลการส่งเสริม การควบคุมศัตรูมะพร้าว ความยั่งยืน | th |
dc.subject | Extension model | en |
dc.subject | Coconut pest control | en |
dc.subject | Sustainability | en |
dc.subject.classification | Agricultural and Biological Sciences | en |
dc.subject.classification | Agriculture,forestry and fishing | en |
dc.title | Extension Model of Sustainable Coconut Pest Control for Coconut Farmers in the Eastern Region | en |
dc.title | โมเดลการส่งเสริมการควบคุมศัตรูมะพร้าวอย่างยั่งยืนของเกษตรกรผู้ผลิตมะพร้าวในภาคตะวันออก | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ดุษฎีนิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chalermsak Toomhirun | en |
dc.contributor.coadvisor | เฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy Agricultural Extension and Development (Ph.D. (Agricultural Extension and Development)) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (ปร.ด. (่ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Doctor of Philosophy Agricultural Extension and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร | th |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
4609000031.pdf | 2.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.