Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJARUNEE SUTHUMWONGen
dc.contributorจารุณีย์ สุธรรมวงศ์th
dc.contributor.advisorWarinee Iemsawasdikulen
dc.contributor.advisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุลth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T09:05:28Z-
dc.date.available2025-01-24T09:05:28Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued26/10/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13745-
dc.description.abstractThe objectives of this descriptive research were to study: 1) predictive factors including; perceived risk and severity of disease from smoking, perceived benefit and barriers to quitting smoking, perceived self-efficacy in quitting smoking, knowledge about diseases from smoking and quitting smoking methods; and factors motivating to quit smoking, 2) success in quitting smoking, and 3) effects of predictive factors on the success in quitting smoking of clients at smoking cessation clinics in the Bangkok Metropolitan area. The sample consisted of clients who attended a Smoking Cessation Clinic in Bangkok Metropolis, who had been referred to Thailand National Quitline (Quit Smoking Hotline 1600) between October 2021 and September 2022, and lived in Bangkok. A total of 228 individuals were selected by simple random sampling. The research instrument was a questionnaire with 3 parts: 1) general information; 2) predictive factors with 7 subsets and 3) success in quitting smoking. The questionnaire part 2 had content validity index of .73-1 and had Cronbach's alpha coefficient .70-.91. Data were analyzed by descriptive statistics and binary logistic regression. The results found that: 1) perceived risk of disease from smoking and perceived benefits of quitting smoking of the sample were at a very high level. Perceived severity of disease from smoking, perceived self-efficacy in quitting smoking, knowledge about diseases from smoking and quitting smoking methods, and factors motivating to quit smoking were at a high level, and perceived barriers to quitting smoking was at a moderate level. 2) The success in quitting smoking was 32.23%. 3) Predictive factors with a statistically significant effect on the success in quitting smoking were: perceived severity of disease from smoking, perceived barriers to quitting smoking, perceived self-efficacy in quitting smoking, knowledge about diseases from smoking and quitting smoking methods, and factors motivating to quit smoking (pen
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยทำนาย ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความรุนแรงของโรคจากการสูบบุหรี่ การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการเลิกสูบบุหรี่ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลิกสูบบุหรี่ ความรู้เกี่ยวกับโรคจากการสูบบุหรี่และวิธีการเลิกสูบบุหรี่ และสิ่งกระตุ้นให้เลิกสูบบุหรี่ 2) ความสำเร็จของการเลิกสูบบุหรี่ และ 3) อิทธิพลของปัจจัยทำนายต่อความสำเร็จของการเลิกสูบบุหรี่ของผู้รับบริการในคลินิกช่วยเลิกยาสูบ ในกรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนากลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รับบริการเลิกยาสูบในคลินิกช่วยเลิกยาสูบ ในกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการส่งต่อศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ (สายด่วนเลิกบุหรี่ 1600) ระหว่างเดือน ตุลาคม 2564-กันยายน 2565 อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 228 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ปัจจัยทำนายการเลิกสูบบุหรี่ 7 ตัว ส่วนที่ 3 ความสำเร็จของการเลิกสูบบุหรี่ แบบสอบถามส่วนที่ 2 มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา .73-1 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค .70-.91 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกทวิผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่าง 1) มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากการสูบบุหรี่และการรับรู้ประโยชน์ของการเลิกสูบบุหรี่อยู่ในระดับสูงมาก มีการรับรู้ความรุนแรงของโรคจากการสูบบุหรี่ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลิกสูบบุหรี่ ความรู้เกี่ยวกับโรคจากการสูบบุหรี่และวิธีการเลิกสูบบุหรี่ และสิ่งกระตุ้นให้เลิกสูบบุหรี่อยู่ในระดับสูง มีการรับรู้อุปสรรคในการเลิกสูบบุหรี่อยู่ในระดับปานกลาง 2) มีความสำเร็จของการเลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ 32.23 และ 3) ปัจจัยทำนายที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการเลิกสูบบุหรี่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ การรับรู้ความรุนแรงของโรคจากการสูบบุหรี่ การรับรู้อุปสรรคในการเลิกสูบบุหรี่ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลิกสูบบุหรี่ ความรู้เกี่ยวกับโรคจากการสูบบุหรี่และวิธีการเลิกสูบบุหรี่ และสิ่งกระตุ้นให้เลิกสูบบุหรี่th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectปัจจัยทำนาย ความสำเร็จของการเลิกสูบบุหรี่ ผู้รับบริการ คลินิกช่วยเลิกยาสูบth
dc.subjectPredictive Factorsen
dc.subjectSuccess in Quitting Smokingen
dc.subjectClientsen
dc.subjectSmoking Cessation Clinicen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.titleFactors Effecting Success of Smoking Quit of Clients at Smoking Cessation Clinic in Bangkok Metropolitansen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการเลิกสูบบุหรี่ของผู้รับบริการในคลินิกช่วยเลิกยาสูบ ในกรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorWarinee Iemsawasdikulen
dc.contributor.coadvisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุลth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Nursing Science in Community Nurse Practitioner (M.N.S. (Community Nurse Practitioner))en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Nursing Science (Community Nurse Practitioner)en
dc.description.degreedisciplineพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน)th
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2585100593.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.