กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13762
ชื่อเรื่อง: Effects of a Food Consuming Behavior Modification Program with a Carb Count Application to Blood Glucose Level in People with Type 2 Diabetes Mellitus.
ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารร่วมกับแอปพลิเคชันนับคาร์บต่อระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: Sukanya Toemkrathok
สุกัญญา เติมกระโทก
Napaphen Jantacumma
นภาเพ็ญ จันทขัมมา
Sukhothai Thammathirat Open University
Napaphen Jantacumma
นภาเพ็ญ จันทขัมมา
[email protected]
[email protected]
คำสำคัญ: โรคเบาหวานชนิดที่ 2
โปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
แอปพลิเคชันนับคาร์บ
ระดับน้ำตาลในเลือด
Type 2 diabetes
Program
Eating behavior modification
Carb application
Blood sugar level
วันที่เผยแพร่:  9
สำนักพิมพ์: Sukhothai Thammathirat Open University
บทคัดย่อ: This quasi-experimental research used pre-program and post-program testing. To study the effects of a food consumption behavior modification program used with a carb count application on the blood glucose levels of people with Type 2 diabetes mellitus.  The sample group in research It is a patients with type 2 diabetes who have HbA1c ≥7, aged 30 - 70 years, 30 people per group, taking 12 weeks. The instrument used to collect data was a questionnaire. 3 parts Including 1) general information and health status 2) self-efficacy awareness in carb-counting 3) carbohydrate consumption behavior, parts 2 and 3 had reliability values of 0.86 and 0.66, respectively. Data analysis consisted of descriptive statistics, Chi square, paired t-test, independent t-test and Wilcoxon Signed-Rank Test. The results after the program, the average self-efficacy awareness scores, carbohydrate consumption behavior scores, blood HbA1c levels and post prandial of samples in the experimental group were all significantly improved compared to before the program and were better than the average scores of individuals in the comparison group to a statistically significant degree at .05 (p
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารร่วมกับแอปพลิเคชันนับคาร์บต่อระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับน้ำตาลสะสมในเลือด HbA1c ≥7 อายุ 30 - 70 ปี กลุ่มละ 30 คน ใช้เวลา 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมี 3 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลทั่วไปและภาวะสุขภาพ 2) การรับรู้ความสามารถของตนเองในการรับประทานอาหารแบบนับคาร์บ 3) พฤติกรรมการรับประทานอาหารประเภทคาร์บ แบบสอบถามส่วนที่ 2, 3 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.86 และ 0.66 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Chi-Square และสถิติ Independent t-test และเปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูลด้วยสถิติ paired t-test, Independent t-test ข้อมูลที่มีและ Wilcoxon Signed-Rank Testผลการศึกษา พบว่า หลังใช้โปรแกรมฯ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองกับการรับประทานอาหารแบบนับคาร์บ พฤติกรรมการรับประทานอาหารประเภทคาร์บ ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1c) และระดับน้ำตาลปลายนิ้วหลังอาหาร 2 ชั่วโมง (post prandial)  ดีกว่าก่อนใช้โปรแกรมฯ และดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13762
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Nurse-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2645100328.pdf6.23 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น