กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13776
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอนัญญา ประดิษฐปรีชาth_TH
dc.contributor.authorชมพูนุช มณีรัตน์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T00:56:49Z-
dc.date.available2025-01-27T00:56:49Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13776en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับแรงจูงใจในการป้องกันโรค การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค และความคาดหวังถึงผลของพฤติกรรมการป้องกันโรค  ความคาดหวังความสามารถของตนเองในการป้องกันโรค (2) ระดับพฤติกรรมการป้องกันโรค และ (3) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรคความคาดหวังถึงผล ของพฤติกรรมการป้องกันโรค และความคาดหวังความสามารถของตนเองในการป้องกันโรค ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรค ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จังหวัดชัยนาท หลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง ประชากรที่ศึกษาคือ อสม. จังหวัดชัยนาท จำนวน 9,600 คน คำนวณขนาดตัวอย่างเพื่อประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรและสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ  ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 394 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ 0.86 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 84.95 มีการรับรู้ความรุนแรงอยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 84.09 มีความคาดหวังถึงพฤติกรรม การป้องกันโรคอยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 84.85 มีความคาดหวังความสามารถของตนเองอยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 85.33 (2) มีพฤติกรรมการป้องกันอยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 95.90 และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคของ อสม. จังหวัดชัยนาท หลังการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)--ไทย--ชัยนาท--การป้องกันth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านจังหวัดชัยนาท หลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing disease prevention behaviors among village health volunteers in Chai Nat Province after the Pandemic of Coronavirus Disease 2019en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate (1) the levels of disease prevention motivation, including perceived disease susceptibility and severity, and perceived benefits of disease prevention behaviors and self-efficacy for disease prevention; (2) the levels of disease prevention behaviors; and (3) the influence of personal characteristics, perceived disease susceptibility, perceived disease severity, and expected benefits of disease prevention behaviors and expected self-efficacy for disease prevention of village health volunteers (VHVs) in Chai Nat province after the pandemic of coronavirus disease 2019 (COVID-19). The study was a cross-sectional survey on a sample of 394 VHVs selected using the multi-stage sampling from a population of 9,600 VHVs in the province. The sample size was calculated from a formula for estimating population means. Data were collected using a questionnaire with a Cronbach's alpha of 0.86 and then analyzed to determine frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regression. The results showed that, among the VHVs in Chai Nat: (1) regarding their motivation for disease prevention, the levels were highest for perceived susceptibility at 84.95%, high for perceived severity at 84.09%, and highest for perceived benefits and self-efficacy at 84.85% and 85.33% respectively; (2) their level of disease prevention behaviors was highest at 95.90%; and (3) the factors that significantly influenced their prevention behaviors in the province after the COVID-19 pandemic (p < 0.05) were gender, age, perceived benefits, and perceived self-efficacy, with an overall coefficient of determination of 23.60% (R2 = 0.236). Thus, relevant agencies should promote, support, and maintain appropriate health behaviors among VHVs as a role model for the people’s healthcare.en_US
dc.contributor.coadvisorปกกมล เหล่ารักษาวงษ์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2635000413.pdf3.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น