Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13776
Title: | Factors influencing Disease Prevention Behaviors Among Village Health Volunteers in Chai Nat Province after the Pandemic of Coronavirus Disease 2019 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านจังหวัดชัยนาท หลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
Authors: | Chomphunut Maneerat ชมพูนุช มณีรัตน์ Anunya Pradidthaprecha อนัญญา ประดิษฐปรีชา Sukhothai Thammathirat Open University Anunya Pradidthaprecha อนัญญา ประดิษฐปรีชา [email protected] [email protected] |
Keywords: | การป้องกันโรค โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน Disease prevention Coronavirus disease 2019 Village health volunteers |
Issue Date: | 5 |
Publisher: | Sukhothai Thammathirat Open University |
Abstract: | This study aimed to investigate (1) the levels of disease prevention motivation, including perceived disease susceptibility and severity, and perceived benefits of disease prevention behaviors and self-efficacy for disease prevention; (2) the levels of disease prevention behaviors; and (3) the influence of personal characteristics, perceived disease susceptibility, perceived disease severity, and expected benefits of disease prevention behaviors and expected self-efficacy for disease prevention of village health volunteers (VHVs) in Chai Nat province after the pandemic of coronavirus disease 2019 (COVID-19).The study was a cross-sectional survey on a sample of 394 VHVs selected using the multi-stage sampling from a population of 9,600 VHVs in the province. The sample size was calculated from a formula for estimating population means. Data were collected using a questionnaire with a Cronbach's alpha of 0.86 and then analyzed to determine frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regression. The results showed that, among the VHVs in Chai Nat: (1) regarding their motivation for disease prevention, the levels were highest for perceived susceptibility at 84.95%, high for perceived severity at 84.09%, and highest for perceived benefits and self-efficacy at 84.85% and 85.33% respectively; (2) their level of disease prevention behaviors was highest at 95.90%; and (3) the factors that significantly influenced their prevention behaviors in the province after the COVID-19 pandemic (p การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับแรงจูงใจในการป้องกันโรค การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค และความคาดหวังถึงผลของพฤติกรรมการป้องกันโรค ความคาดหวังความสามารถของตนเองในการป้องกันโรค (2) ระดับพฤติกรรมการป้องกันโรค และ (3) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรคความคาดหวังถึงผล ของพฤติกรรมการป้องกันโรค และความคาดหวังความสามารถของตนเองในการป้องกันโรค ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรค ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จังหวัดชัยนาท หลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง ประชากรที่ศึกษาคือ อสม. จังหวัดชัยนาท จำนวน 9,600 คน คำนวณขนาดตัวอย่างเพื่อประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรและสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 394 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ 0.86 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 84.95 มีการรับรู้ความรุนแรงอยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 84.09 มีความคาดหวังถึงพฤติกรรม การป้องกันโรคอยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 84.85 มีความคาดหวังความสามารถของตนเองอยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 85.33 (2) มีพฤติกรรมการป้องกันอยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 95.90 และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคของ อสม. จังหวัดชัยนาท หลังการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13776 |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2635000413.pdf | 3.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.