กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13780
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ มันตาดิลกth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T00:56:53Z-
dc.date.available2025-01-27T00:56:53Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13780en_US
dc.description.abstractปัจจุบันแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนได้รับความนิยมนำมาใช้เป็นระบบกักเก็บพลังงานสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และยานพาหนะไฟฟ้า ความต้องการใช้งานที่เพิ่มขึ้นทำให้ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ทำการวิจัยและทดสอบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ซึ่งในกระบวนการดำเนินงานนั้นมีความเสี่ยงที่จะเกิดการปะทุติดไฟอันเป็นสาเหตุให้เกิดเพลิงไหม้หรือการระเบิดได้ การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวทางการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยสำหรับงานวิจัยและทดสอบแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน  วิธีดำเนินการศึกษาเป็นการศึกษาการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ และศึกษาข้อมูลการวิจัยและทดสอบแบตเตอรี่ กฎหมายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาตรฐานและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและทดสอบแบตเตอรี่ รวมทั้งการศึกษาอุบัติการณ์ที่เคยเกิดขึ้น แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เรียบเรียงจัดทำแนวทางการจัดการ ตรวจสอบเนื้อหาและประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และผู้ใช้งาน จำนวน 5 คน จากนั้นนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขและจัดทำแนวทางการจัดการฉบับสมบูรณ์ ผลการศึกษา ได้แนวทางการจัดการฉบับสมบูรณ์ เนื้อหามีจำนวน 6 บท ประกอบด้วย (1) บทนำ (2) การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของหน่วยงาน (3) การปฏิบัติงานวิจัยและทดสอบแบตเตอรี่อย่างปลอดภัย (4) แนวทางการจัดเก็บและการขนส่งแบตเตอรี่อย่างปลอดภัย (5) แนวทางการปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติการณ์และเหตุฉุกเฉิน และ (6) การจัดการของเสียจากงานวิจัยและทดสอบแบตเตอรี่ ซึ่งมีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ( xˉ = 4.73, S.D. = 0.45)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน--แง่อนามัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleแนวทางการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยสำหรับงานวิจัยและทดสอบแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนth_TH
dc.title.alternativeGuidelines on occupational health and safety management for Lithium-Ion battery research and testingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeCurrently, lithium-ion batteries are popularly used for electronic devices and electric vehicles. Due to growing demand and diverse applications, both government and private sectors have been conducting research and testing to enhance the performance of lithium-ion batteries. However, during the processes, there is a risk of ignition, leading to fires or explosions. Therefore, the purpose of this independent study was to prepare guidelines on occupational health and safety management for lithium-ion battery research and testing.The methodology included reviews of the Occupational Health Safety Management Program at the National Energy Technology Center (ENTEC), and the data on battery research and testing, occupational health and safety laws, standards and regulations related to battery research and testing, as well as incidents that had occurred. All data were collected and analyzed for preparing the management guidelines. The draft guidelines were assessed by three qualified experts and five users, respectively. The evaluation results and additional suggestions were used to finalize the guidelines.As a result, the completed Guidelines on Occupational Health and Safety Management for Lithium-Ion Battery Research and Testing contains six chapters: (1) Introduction, (2) Occupational Health and Safety Management of the Agency, (3) Safe Research and Testing of Batteries, (4) Safe Battery Storage and Transportation Guidelines, (5) Incident and Emergency Management Guidelines, and (6) Management of Waste from Battery Research and Testing. The quality assessment result was found at a very good level, with an average score of 4.73 and a standard deviation of 0.45.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2635000793.pdf14.51 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น