Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุณฑลีย์ บังคะดานราth_TH
dc.contributor.authorจารุวรรณ สีเงินth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T00:56:56Z-
dc.date.available2025-01-27T00:56:56Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13784en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษาระดับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงานของพนักงานโรงงานยางแท่งแห่งหนึ่งในจังหวัดยโสธร (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่มีผลต่อการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงานของพนักงานโรงงานยางแท่งแห่งหนึ่งในจังหวัดยโสธร                    การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางประชากร ประชากรเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการจำนวน 70 คน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือ พนักงานระดับปฏิบัติการทั้งหมด จำนวนทั้งสิ้น 69 คน ซึ่งตอบข้อคำถามครบถ้วนทุกข้อ เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.80 โดยแบบสอบถามมี 4 ส่วนประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ต่อการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน ทัศนคติต่อการ ป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน และพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) พนักงานโรงงานยางแท่งมีความรู้ต่อการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงานอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 49.28 ทัศนคติต่อการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 69.60 และพฤติกรรมต่อการป้องกัน อันตรายจากการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 52.17 และ 2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า ความรู้ไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p-value>0.05) ส่วนทัศนคติมีความสัมพันธ์ทางสถิติกับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมยางพารา--มาตรการความปลอดภัยth_TH
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม--ไทย--ยโสธรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleการศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงานของพนักงานโรงงานยางแท่งแห่งหนึ่งในจังหวัดยโสธรth_TH
dc.title.alternativeAssessment of knowledge, attitudes and behaviors towards hazard prevention among employees on a Rubber Rod Factory in Yasothon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent research aimed to explore (1) the level of knowledge, attitudes, and behaviors in preventing hazards in the workplace and (2) the relationship between knowledge, attitudes and behaviors and hazard prevention in the workplace among workers in a rubber rod factory in Yasothon province. The study employed a cross-sectional survey design with a sample of 69 workers selected out of 70 operational level workers in the factory. Data were collected from 69 workers who had completed all the questionnaire questions. The questionnaire, whose reliability coefficient was 0.80, had four sections: personal information, knowledge of workplace hazard prevention, attitudes towards workplace hazard prevention, and behaviors for workplace hazard prevention. Data analysis included descriptive statistics, mean, standard deviation, and Pearson correlation coefficient. The findings revealed that, among the respondents (rubber rod factory workers): (1) regarding workplace hazard prevention, their level of knowledge was low (49.28%), their level of attitudes was moderate (69.60%), and their level of behaviors was very good (52.17%) and (2) based on the relationship analysis, their knowledge levels were significantly related to hazard prevention behaviors (p-value > 0.05), but their attitude levels were significantly related to hazard prevention behaviors  (p-value < 0.01). In conclusion, the findings are beneficial for businesses to develop training courses focusing on safety and activities for promoting safety among employees.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2645000056.pdf902.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.