Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13802
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKANYAPHUT BUDKAEWen
dc.contributorกัญญาพัชร บัดแก้วth
dc.contributor.advisorSompoch Ratioranen
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬารth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-27T00:57:09Z-
dc.date.available2025-01-27T00:57:09Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued5/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13802-
dc.description.abstractThis independent study aimed to 1) Health literacy level of chronic non-communicable diseases prevention Personal factors, Health outcome, Health behavior 3E.2S. and Knowledge of chronic non-communicable diseases prevention and 3) Relationships between personal factors, health outcome, health behavior 3E2S and knowledge of chronic non-communicable diseases prevention with health literacy of chronic non-communicable diseases prevention in village health volunteers, Wang Pong District, Phetchabun Province.The study was a cross-sectional descriptive research. Population was 650 village health volunteers live in Wang Pong District, Phetchabun Province. Multistage random sampling was used to select the sample of 156 village health volunteers, calculated as a sample using the G*POWER, setting a =0.05. The instrument used was a questionnaire that had been checked for validity by 3 experts, try out, Cronbach's confidence coefficient was 0.83. Data were analyzed using frequency distribution, percentages, means, standard deviations, Pearson Chi Square and Spearman's rank correlation coefficient.The results showed that 1) Heath literacy of chronic non-communicable diseases prevention had moderate level. 2) The sample was female (80.8 percent), average age 51.02 years, marital status was couple (83.3 percent), graduated primary school (44.9 percent), monthly income was less than 5,000 baht  (58.3 percent), community status was only village health volunteer (61.5 percent), family health history with a chronic non-communicable disease. (64.7 percent). Health Outcome: waist circumference was risk level  (71.8 percent), body mass index was obese (33.3 percent), no stress (91.7 percent, Knowledge of chronic non-communicable diseases prevention had very good level (44.20 percent). Health behavior 3E2S had moderate level and 3) Health behavior 3E2S was relate to heath literacy of chronic non-communicable diseases prevention with statistical significance at the 0.05 level (r = 0.37)en
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา1) ระดับความรอบรู้สุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2) ปัจจัยส่วนบุคคล ผลลัพธ์ทางสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ  3อ.2ส. และความรู้ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ผลลัพธ์ทางสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. ความรู้ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกับความรอบรู้สุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ การศึกษาเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง ประชากรในการศึกษา คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 650 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป จีพาวเวอร์ ได้จำนวน 156 คน และสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน และตรวจสอบความเที่ยง มีค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคของแอลฟาทั้งฉบับ เท่ากับ 0.83 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด เพียร์สันไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงอันดับของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า 1) ความรอบรู้สุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง 2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 80.80) อายุเฉลี่ย 51.02 ปี สถานภาพสมรส คู่ (ร้อยละ 83.30) การศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 44.90)  รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 5,000 บาท (ร้อยละ 58.30) เป็นอสม.อย่างเดียว (ร้อยละ61.50) มีญาติสายตรงป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ร้อยละ 64.70) ปัจจัยด้านผลลัพธ์ทางสุขภาพ พบว่าส่วนใหญ่ รอบเอวอยู่ในระดับเสี่ยง (ร้อยละ 71.80) ค่าดัชนีมวลกายอยู่ในช่วงอ้วน (ร้อยละ 33.30)  มีความเครียดระดับปกติ (ร้อยละ 91.70)  ความรู้ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ 44.20)  พฤติกรรม 3อ.2ส. ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง และ 3) พฤติกรรมสุขภาพ 3 อ.2ส. มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้สุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีความสัมพันธ์ในระดับค่อนข้างต่ำ (r = 0.38)th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectความรอบรู้สุขภาพ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  ผลลัพธ์ทางสุขภาพ  พฤติกรรมสุขภาพ  อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth
dc.subjectHealth literacyen
dc.subjectNon-communicable diseasesen
dc.subjectHealth Outcomesen
dc.subjectBehavioralen
dc.subjectHealth Village Health Volunteeren
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.titleFactors Related to Health Literacy for Non-communication Disease Among Village Health Volunteer group in Wang pong District, Phetchabun Provinceen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้สุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์            th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSompoch Ratioranen
dc.contributor.coadvisorสมโภช รติโอฬารth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Public Healthen
dc.description.degreedisciplineสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2645000643.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.