Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13806
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKWANTHIDA NIMNUALen
dc.contributorขวัญธิดา นิ่มนวลth
dc.contributor.advisorAkaphol Kaladeeen
dc.contributor.advisorเอกพล กาละดีth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-27T00:57:12Z-
dc.date.available2025-01-27T00:57:12Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued17/7/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13806-
dc.description.abstractThis study aimed to evaluate the performance of the Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) Prevention and Control Program in Mueang Chachoengsao district, Chachoengsao province, by applying the Stake’s Evaluation Model (Stake, 1980), and using the evaluative research approach.The study was based on two groups of participants: Group 1, 41 officials responsible for DHF prevention and control in the district and Group 2, 206 community leaders who worked and lived in the district, selected using the multistage sampling. Data were collected using questionnaires in the form of documents and Google forms. Data were collected using two set of questionnaires that had been checked for content validity and tested for reliability of the instrument. The Cronbach's alpha coefficients of the first questionnaire were 0.85 and 0.88, while the coefficients of the second questionnaire were 0.87, 0.86, 0.99, and 0.80. Data were analyzed for numbers, percentages, and estimates based on the 95% confidence interval of percentages.The results showed that: (1) regarding the performance in DHF prevention and control of responsible officials, most of them had problems and obstacles in improving the environment for destroying the breeding grounds of Aedes mosquitoes (80.5%) and in surveying the Aedes larval indices (73.2%);  (2) as for community leaders’ performance, their involvement if the program was at a high level (78.16%; 95% CI: 71.88–83.60); and (3) based on the 2023 standard criteria for DHF prevention and control, the district had 156 DHF cases, representing an illness rate of 95.42 per 100,000 population, which was higher than the threshold set by the Ministry  of  Public Health, and had a death rate of 0, which was lower than the criterion set by the ministry;  and the mosquito larval indices (HI, BI, CI) were in the low and medium risk.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยการประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินของ สเตค (Stake, 1980) การวิจัยเชิงประเมินผลครั้งนี้ศึกษาจากตัวอย่าง 2 กลุ่ม ได้แก่ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 41 คน และผู้นำชุมชนที่ปฏิบัติงานและอาศัยอยู่ใน  อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 206 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือ พบว่า แบบสอบถามชุดที่ 1 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.85 0.88 และแบบสอบถามชุดที่ 2 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.87 0.86 0.99 และ 0.80 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย จำนวน ร้อยละ และการประมาณค่าช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ของร้อยละผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ส่วนใหญ่มีปัญหาและอุปสรรคในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ร้อยละ 80.50 และการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 73.20  2) ผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของผู้นำชุมชน พบว่า มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับมาก (ร้อยละ 78.16, 95% CI:71.88-83.60) และ 3) ผลการดำเนินงานการป้องกันและควบคุม โรคไข้เลือดออกเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานในปี 2566 อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมจำนวน 156 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 95.42 ต่อแสนประชากรซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด  และมีอัตราตาย เท่ากับ 0 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดและมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI, BI, CI) อยู่ในเกณฑ์ความเสี่ยงต่ำและปานกลางth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการประเมินผล  รูปแบบการประเมินของสเตค  การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกth
dc.subjectPerformance Evaluationen
dc.subjectDengue Hemorrhagic Fever Prevention and controlen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.titlePerformance Evaluation of Dengue Hemorrhagic Fever Prevention and Control in Mueang Chachoengsao District, Chachoengsao Provinceen
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทราth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorAkaphol Kaladeeen
dc.contributor.coadvisorเอกพล กาละดีth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Public Healthen
dc.description.degreedisciplineสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2645000718.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.