กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13810
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพาณี สีตกลินth_TH
dc.contributor.authorอภิวัฒน์ ลีวัฒนหิรัญไพศาลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T00:57:15Z-
dc.date.available2025-01-27T00:57:15Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13810en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคาดหวังและระดับความพึงพอใจในคุณภาพบริการฝึกพัฒนาการเด็กของคลินิกกิจกรรมบำบัดเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น และ (2) ความสัมพันธ์ ด้านปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับความคาดหวังและความพึงพอใจในคุณภาพบริการการฝึกพัฒนาการเด็ก ของคลินิกกิจกรรมบำบัดเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่นการวิจัยเชิงพรรณนานี้ ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้รับบริการทางกิจกรรมบำบัดของสถานพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่นที่มีบทบาทเป็นผู้ดูแล หรือพ่อแม่ หรือญาติ หรือสมาชิกในครอบครัวที่รับผิดชอบนำผู้รับบริการเด็กมาใช้บริการในสถานพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น จำนวน 387 ราย กลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 233 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามปัจจัยส่วนประสมการตลาดของความคาดหวังและความพึงพอใจในคุณภาพบริการการฝึกพัฒนาการเด็กของคลินิกกิจกรรมบำบัด ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ สถิติเชิงพรรณนา วิลคอกซัน และสหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษาวิจัยนี้พบ (1) ในภาพรวม ระดับความคาดหวังในคุณภาพบริการอยู่ในระดับปานกลาง และระดับความพึงพอใจในคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และคะแนนความคาดหวังและความพึงพอใจในคุณภาพบริการตามปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในคุณภาพบริการมากกว่าคะแนนเฉลี่ยความคาดหวังในคุณภาพบริการในทุกปัจจัยส่วนประสมการตลาด และ (2) ความสัมพันธ์ของความคาดหวังและความพึงพอใจในคุณภาพบริการ พบว่า ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมี 2 ด้าน คือ ด้านผลิตภัณฑ์และด้านบุคคลมีความสัมพันธ์กับความคาดหวังและความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกิจกรรมบำบัดสำหรับเด็กen
dc.titleความสัมพันธ์ด้านปัจจัยส่วนประสมการตลาดของความคาดหวัง และความพึงพอใจในคุณภาพบริการการฝึกพัฒนาการเด็กของคลินิกกิจกรรมบำบัดเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeRelationship of marketing mix factors of expectations and satisfaction with childdevelopment training services at a private occupational therapy clinic in Khon Kaen Provinceen_US
dc.title.alternativeBorn digitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research study aimed to explore (1) the levels of expectations and satisfaction with the quality of child development training services and (2) the relationship between marketing mix factors and expectations and satisfaction with the quality of the training services, both at a private occupational therapy (OT) clinic in Khon Kaen province. This descriptive research study involved a sample of 233 OT clients selected using the purposive random sampling from all 387 clients, who served as caregivers, parents, relatives or family members bringing child OT recipients to the OT clinic in the province. Data were collected using a questionnaire on marketing mix factors of expectations and satisfaction with the quality of child development training services at the OT clinic. At the confidence value of 0.95, data analyses included descriptive statistics, Wilcoxon test and Spearman's correlation.The results revealed that: (1) among the clients, overall, their levels of expectations for service quality were moderate, the levels of satisfaction with service quality were high, and the scores of expectations and satisfaction with service quality according to marketing mix factors were significantly different at 0.05; the average score of satisfaction with service quality was higher than that of service quality expectations in all marketing mix factors; and (2) concerning the relationship of clients’ expectations and satisfaction with service quality, two aspects of the marketing mix, product and personnel, were significantly associated with their expectations and satisfaction (P = 0.05).en_US
dc.contributor.coadvisorมยุรินทร์ เหล่ารุจth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2645001039.pdf1.17 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น