กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13818
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอนัญญา ประดิษฐปรีชาth_TH
dc.contributor.authorพศิน ธวัชเกียรติศักดิ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T00:57:19Z-
dc.date.available2025-01-27T00:57:19Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13818en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลของการบริโภคพืชกระท่อมที่มีต่อสารชีวเคมีของระบบ ทางเดินอาหาร และ 2) ค่าการอักเสบในความแตกต่างทั้งด้านปริมาณและความสัมพันธ์ด้านระยะเวลาในผู้บริโภคเพศชาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง ประชากรที่ศึกษาคือประชากรเพศชายที่บริโภค พืชกระท่อมและอาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ใช้สูตรการคำนวณขนาดตัวอย่างกรณีไม่ ทราบประชากรและสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนจำนวน 87 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และเจาะ เก็บเลือด ทดสอบความเชื่อมั่นโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคมีค่าเท่ากับ 0.71 วิเคราะห์ข้อมูลโดย หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างโดยการทดสอบค่าทีแบบอิสระ ต่อกัน การทดสอบแมนท์วิทนียูเทส และหาความสัมพันธ์โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เชิงอันดับของสเปียร์แมน พร้อมแสดงแผนภาพการกระจายของข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของการตรวจวัดอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง มีแนวโน้มสูง กว่าค่าอ้างอิงและสูงกว่าค่ากลางของค่าอ้างอิงในขณะที่ค่าเฉลี่ยของสารชีวเคมีรายการอื่น ๆ อยู่ภายในค่าอ้างอิง ด้านปริมาณการบริโภค (< 40 กับ ≥ 40 ใบต่อวัน) ความถี่การบริโภค (< 10 กับ ≥ 10 ครั้งต่อวัน) และ จำนวน การบริโภค (< 8 กับ ≥ 8 แก้วต่อวัน) ทุกรายการไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2) ความสัมพันธ์ด้านระยะเวลาการบริโภคกับสารชีวเคมีและค่าการอักเสบ พบว่าไม่มีความสัมพันธ์ต่อระดับสาร ชีวเคมียกเว้นค่าเฉลี่ยของการตรวจวัดอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดงที่สูงขึ้นเล็กน้อย ถึงกระนั้นผู้บริโภค ยังคงต้องบริโภคในปริมาณที่เหมาะสมและใช้ในรูปแบบของการเป็นพืชสมุนไพรตามแนวทางของกระทรวง สาธารณสุขกำหนดอย่างเคร่งครัดต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกระท่อม (พืช)th_TH
dc.subjectระบบกระเพาะอาหารและลำไส้th_TH
dc.titleการศึกษาความแตกต่างด้านปริมาณและความสัมพันธ์ด้านระยะเวลาของการบริโภคพืชกระท่อมที่ส่งผลต่อระดับสารชีวเคมีของระบบทางเดินอาหารในกลุ่มประชากรเพศชายที่อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDifferentiation of kratom consumption amounts and correlation of consumption time periods effect to biochemical substance levels in male’s gastrointestinal tracts in Southern Border Provinces, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to 1) investigate the effect of kratom consumption on gastrointestinal biochemistry and 2) inflammation in terms of quantities and durations in a sample of male consumers. This is a cross-sectional analytical study focusing on the male population consuming kratom in Yala, Pattani, and Narathiwat provinces. We used the formula for calculating the sample size for an infinite population and multi-stage random sampling to obtain 87 participants. Data were gathered through interviews using a questionnaire and blood samples’ examination. The questionnaire’s Cronbach's alpha coefficient was calculated and found to be 0.71. The data were analyzed by determining frequency, percentage, mean, and standard deviation, comparing differences using the independent sample t-test, Mann-Whitney U-test, and identifying relationships using Pearson's correlation, Spearman rank correlation coefficient and scatter plot. The results showed that, 1)among the participants, the mean erythrocyte sedimentation rates (ESRs) tended to be higher than the reference values. However, the mean values of other biochemical substances were within the reference levels (not higher than the reference values). There were no significant differences in quantities consumed (<40 vs. ≥40 kratom leaves per day), frequency of consumption (<10 vs. ≥10 times per day), and number of glasses consumed (<8 vs. ≥8 glasses per day) at the 0.05 level. 2) There was no correlation between time periods of consumption and biochemical or inflammation levels, with the exception of slightly higher ESR values. However, consumers must take the right amount and use it as a medicinal plant in strict conformity with the Ministry of Public Health's guidelines.en_US
dc.contributor.coadvisorธัญญรัศม์ อุทัยพันธ์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2655001051.pdf4.6 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น