กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13838
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพิศาล มุกดารัศมีth_TH
dc.contributor.authorพชรพล มาไวth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T01:04:39Z-
dc.date.available2025-01-27T01:04:39Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13838en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาที่มา รูปแบบและเนื้อหาแนวคิดทางการเมืองของตัวละครที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูน เมไจ อาลาดินผจญภัย และ (2) เพื่อศึกษาที่มา รูปแบบ และเนื้อหาแนวคิดรูปแบบทางการเมืองการปกครองที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูน เมไจ  อาลาดินผจญภัย โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ รูปแบบการวิจัยเชิงเอกสาร ที่ใช้แนวคิดทางการเมือง แนวคิดรูปแบบทางการเมืองการปกครอง และแนวคิดการวิจารณ์วรรณกรรมเชิงจิตวิเคราะห์เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมของตัวละครและบริบททางการเมืองในหนังสือการ์ตูน เมไจ อาลาดินผจญภัย ผลการศึกษาพบว่า (1) จากเรื่องปรากฎแนวคิดทางการเมืองผ่านตัวละครที่มีแนวคิดแตกต่างกันไป อันเกิดจากประสบการณ์และสภาพสังคมในช่วงชีวิตของแต่ละตัวละคร เกิดเป็นแนวคิดและพฤติกรรมทางการเมืองที่ต่างกัน โดยในเรื่องปรากฎแนวคิดทางการเมือง ได้แก่ แนวคิดเสรีนิยม สังคมนิยม เผด็จการ อนาธิปไตยและอนุรักษนิยม นำไปสู่การมีปฏิสัมพันธ์แบบขัดแย้งและสนับสนุนของตัวละครที่มีแนวคิดต่างกัน โดยผู้ประพันธ์มีนัยยะสนับสนุนแนวคิดเสรีนิยม และสังคมนิยมผ่านตัวละครเกี่ยวกับความเป็นปัจเจก ความเท่าเทียม การเชื่อในเหตุผลของมนุษย์ ภราดรภาพ การปฏิเสธชนชั้นและระบบทุนนิยม (2) จากเรื่องปรากฎรูปแบบทางการเมืองการปกครองผ่านประเทศต่าง ๆ ได้แก่รูปแบบราชาธิปไตย ทรราชธิปไตย อภิชนาธิปไตย และประชาธิปไตย โดยผู้ศึกษาได้วิเคราะห์รูปแบบทางการเมืองการปกครองผ่านแนวคิดทฤษฎีของอริสโตเติลที่พิจารณาจากจำนวนผู้ปกครองและเป้าหมายการปกครอง ซึ่งผู้ประพันธ์มีนัยยะไม่สนับสนุนการปกครองโดยคนคนเดียวที่นำไปสู่การเป็นราชาทรราช และมองรูปแบบทางการเมืองการปกครองเป็นพลวัตที่เปลี่ยนไปตามแนวคิดทางการเมืองของผู้ปกครอง และกระแสสังคมโลกth_TH
dc.formatBorn digitalen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการ์ตูนการเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleแนวคิดทางการเมืองในหนังสือการ์ตูนเรื่อง “เมไจ อาลาดินผจญภัย” (Magi: The Labyrinth of Magic) ของ โอทากะ ชิโนบุth_TH
dc.title.alternativePolitical concept in the Manga “Magi: The Labyrinth of Magic” by Ohtaka Shinobuen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to investigate the origin, pattern and content of political ideologies of the characters in the manga, Magi: The Labyrinth of Magic and (2) to study the origin, pattern and content of regime in the manga, Magi: The Labyrinth of Magic.This study was qualitative research using a documentary method that applies political concepts, regime, and psychoanalytic literary criticism to analyze the characters and political context in the manga Magi: The Labyrinth of Magic. A descriptive analysis and a content analysis were applied, particularly to the various political issues.This study found that (1) the political concepts of each character had different concepts and behaviors shaped by their experiences and social conditions. The story shows different political concepts, including liberalism, socialism, dictatorship, anarchism, and conservatism, leading to conflicting and supportive interactions between the characters. The author implied support for liberalism and socialism through the characters regarding individuality, equality, belief in reason, brotherhood, classless society, and the capitalism. (2) This story showed the regimes of various countries, including monarchy, tyranny, aristocracy, and democracy. The regimes were analyzed by the concepts of Aristotle's theory, which considers the number of governors and the goals of governance. The author implied an unsupported single governor leading to tyranny and viewed the regimes as a dynamic pattern that evolves according to the political concepts of the governors and global social trends.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2648000384.pdf3.31 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น