Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13842
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ขจรศักดิ์ สิทธิ | th_TH |
dc.contributor.author | มนัญชยา แสนโสม | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-27T01:04:40Z | - |
dc.date.available | 2025-01-27T01:04:40Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13842 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นและการแสดงออกทางการเมืองของประชาชนกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ส และเจเนอเรชั่นแซด เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างทางความคิดเห็นและการแสดงออกทางการเมืองของประชาชนระหว่างประชาชนในกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ส และเจเนอเรชั่นแซด และเพื่อหาแนวทางการอยู่ร่วมกันทางความคิดเห็นทางการเมืองของ กลุ่มเบบี้บูมเมอร์ส และเจเนอเรชั่นแซดการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อมุ่งศึกษาแนวคิดและการแสดงออกทางการเมืองของกลุ่มคนตามช่วงอายุ : ศึกษากรณีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 ในจังหวัดสกลนคร จากผู้ให้ข้อมูล 3 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 เบบี้บูมเมอร์ส กลุ่มที่ 2 เจเนอเรชั่นแซด และกลุ่มที่ 3 ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ จากนั้นนำไปสังเคราะห์ร่วมกับ ผลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นและการแสดงออกทางการเมืองของประชาชนกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ส และเจเนอเรชั่นแซด มีความแตกต่างกันในบางประเด็น และจากการเปรียบเทียบความคิดเห็นทางการเมืองของเบบี้บูมเมอร์ส และเจเนอเรชั่นแซด พบว่ามีบางประเด็นที่มีความคิดเห็นแตกต่างกัน คือ การเข้าถึงข้อมูลของการรับรู้ข่าวสารของประชาชนในเจเนอเรชั่นที่มีการรับรู้ข่าวสารมากน้อยแตกต่างกัน รวมถึงประสบการณ์ได้รับจากการเลือกตั้งในอดีตทำให้เกิดความคิดเห็นทางการเมืองของเบบี้บูมเมอร์ส และเจเนอเรชั่นแซด มีความแตกต่างกันในบางประเด็น ซึ่งแนวทางการอยู่ร่วมกันทางความคิด คือ การให้มองถึงความสามารถในการเข้าถึงการตรวจสอบ การทำงานของนักการเมืองในปัจจุบันผ่านทางโซเชียลมีเดีย ควรศึกษาถึงนโยบายและการปฏิบัติงานของพรรคการเมือง รวมถึงผู้สมัครในพรรคนั้นๆ ว่าสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน หรือสามารถช่วยพัฒนาพื้นที่ในด้านต่างๆ ให้ประชาชนมีความสะดวกมากยิ่งขึ้นหรือไม่ และการมองอย่างเป็นเหตุและผล เพราะทุกนโยบายที่ทุกพรรคการเมืองเสนอมา มีจุดมุ่งหมายที่ดี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การแสดงออก--แง่การเมือง | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.title | เปรียบเทียบแนวคิดและการแสดงออกทางการเมืองของกลุ่มคนตามช่วงอายุ : ศึกษากรณีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 ในจังหวัดสกลนคร | th_TH |
dc.title.alternative | Compare people's political concepts and expression by age range: Study a case The general election of members of the House of Representatives is 2023 in Sakon Nakhon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is set to study the political ideas and expression between Baby Boomers and Generation Z in order to compare ideas and expression between the people in these generations It also attempts to explore the possible coexistence between the two generations. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2648000863.pdf | 4.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.