Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13888
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณี ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | จิติญา ปรึกษาการ, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-31T01:44:03Z | - |
dc.date.available | 2025-01-31T01:44:03Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13888 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถด้านอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนอ่านของเมอร์ด็อคและ (2) ศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนอ่านของเมอร์ด็อค กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านกุดสะกอย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 17 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการสอนอ่านของเมอร์ด็อค (2) แบบทดสอบความสามารถด้านการอ่านจับใจความ และ (3) แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าความสามารถดังกล่าวก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ (2) เจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การอ่านขั้นประถมศึกษา--ไทย--สกลนคร | th_TH |
dc.title | ผลการใช้วิธีการสอนอ่านของเมอร์ด็อคที่มีต่อความสามารถด้านอ่านจับใจความและเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using Murdock’s reading teaching method on reading comprehension ability and attitude toward Thai language learning of Prathom Suksa VI students in schools under Sakon Nakhon Primary Education Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare reading comprehension abilities of Prathom Suksa VI students before and after learning from Murdock’s reading teaching method; and (2) to study attitude toward Thai language learning of Prathom Suksa VI students after learning from Murdock’s reading teaching method. The research sample consisted of 17 Prathom Suksa VI students in an intact classroom of Ban Kutsakoi School under Sakon Nakhon Primary Education Service Area Office 1 during the second semester of the 2020 academic year, obtained by multi-stage sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans for Murdock’s reading teaching method; (2) a reading comprehension ability test; and (3) a scale to assess attitude toward Thai language learning. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-learning reading comprehension ability of Prathom Suksa VI students who learned from Murdock’s reading teaching method was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning attitude toward Thai language learning of the Prathom Suksa VI students was at the high level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อภิรักษ์ อนะมาน | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 22.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License