Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำth_TH
dc.contributor.authorกฤตนันทน์ เตนากุล, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-04-02T02:16:10Z-
dc.date.available2025-04-02T02:16:10Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13918en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต แนวคิดการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริต และแนวคิดการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ (2) เพื่อศึกษาบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสจากการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ทั้งของประเทศไทยและของต่างประเทศ (3) เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายในคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสจากการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ และ (4) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะมาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสจากการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์สำหรับประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการและแหล่งข้อมูลออนไลน์ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาเพื่อนำใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาการทุจริตนั้นถือเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทย โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในลักษณะการแจ้งเบาะแสหรือการแสดงความเห็นเกี่ยวกับการทุจริตถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ในขณะที่บุคคลดังกล่าวอาจถูกดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อลดโอกาสและแรงจูงใจที่ประชาชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบภาครัฐ (2) ประเทศไทยนั้นได้ให้ความสำคัญต่อการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริต โดยกำหนดไว้ตั้งแต่ในระดับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 แต่ก็ยังมีช่องโหว่ของกระบวนการให้เกิดการฟ้องร้องคดีโดยเฉพาะความผิดฐานหมิ่นประมาทต่อผู้แจ้งเบาะแสการทุจริต (3) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และเครือรัฐออสเตรเลียนั้นก็ได้ให้ความสำคัญกับเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นในประเด็นสาธารณะอย่างมาก และมีการคุ้มครองอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดบทบัญญัติเฉพาะเพื่อคุ้มครองผู้ที่แสดงความเห็นเพื่อคุ้มครองผลประโยชน์สาธารณะจากดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ (4) จากการวิเคราะห์ข้อมูลมีข้อเสนอว่า ควรมีบทบัญญัติยกเว้นความรับผิดของผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตให้ชัดเจน โดยเฉพาะความผิดฐานหมิ่นประมาท และเพิ่มบทบัญญัติเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตหรือใช้เสรีภาพในการแสดงความเห็นให้ได้รับความคุ้มครองจากการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ที่ชัดเจนรวมไปถึง มาตรการเสริมอื่น ๆ ซึ่งจะทำให้การคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตจากการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศไทยมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้แจ้งเบาะแสth_TH
dc.subjectการแจ้งเบาะแส--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตจากการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeMeasures to protecting corruption whistleblowers from strategic lawsuit Against Public Participationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to study information related to corruption, the concept of protection for fraud whistleblowers and the concept of Strategic Lawsuit Against Public Participation (SLAPP) (2) to study the provisions of the law related to the protection of whistleblowers from SLAPP both in Thailand and abroad (3) to analyze and compare the legal measures to protect whistleblowers from SLAPP and (4) to develop recommendations on measures to protect whistleblowers from SLAPP for Thailand. This independent study is a qualitative study that studies and collects data from academic papers and online resources. Then analyze the data to be used as guidelines for making recommendations on relevant issues. The results of this study found that (1) corruption is an important problem in Thailand. The participation of the public in the form of whistleblowing or expressing opinions on corruption is extremely important. While such persons may be subject to SLAPP to reduce the opportunity and motivation to take part in government investigations (2) Thailand places importance on the protection of corruption whistleblowers. It was stipulated at the level of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560, but there are still loopholes in the process of litigation, especially for defamation against corruption whistleblowers. (3) In the United States, England and Australia, freedom of expression on public issues is highly valued and it is clearly protected. In particular, specific provisions were established to protect those expressing their views in order to protect the public interest from SLAPP. (4). There should be a provision to clearly exclude the liability of fraud whistleblowers, especially defamation offenses. and increase clearly provisions to allow corruption whistleblowers or people who use freedom of expression to be protected from SLAPP, including other supplement measures that will increase the protection of corruption whistleblowers from SLAPP in Thailand.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons