Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมาน กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorจิราภรณ์ เหลืองไพรินทร์, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-03T04:54:01Z-
dc.date.available2022-09-03T04:54:01Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1416en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการพื้นฐานและลักษณะขอบเขตของหลักการพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการแบ่งปันผลประโยชน์ตอบแทนในทรัพยากรชีวภาพโดยเปรียบเทียบและวิเคราะห์กบกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกบการเข้าถึงและการแบ่งปันผลประโยชน์ตอบแทนในการเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพกบกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายต่างประเทศ เพื่อนำมาสร้างแนวทางในการปรับปรุงกฎหมาย/หลักเกณฑ์ในกฎหมายการเข้าถึงและการแบ่งปันผลประโยชน์ตอบแทนในการเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพโดยการวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ พิธีสารนาโงย่า แนวทางบอนน์ว่าด้วยการเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพและการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้รับ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพของประเทศแคนาดาและประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศทวีปยุโรปได้แก่ ประเทศบัลแกเรียประเทศโปรตุเกส กลุ่มประเทศนอร์ดิกกฎหมายของสาธารณรัฐคอสตาริกา กฎหมายของประเทศอินเดียและประเทศฟิลิปปินส์โดยศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายไทย ผลการศึกษาพบว่ากฎหมายไทยที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีลักษณะและขอบเขตการคุ้มครองที่แตกต่างกัน ทำให้การบริหารจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทยไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรทั้งยั้งไม่มีหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินงานด้านนี้อย่างเต็มรูปแบบ ดังนั้นประเทศไทยควรที่จะต้องมีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยกฎหมายวาด้วยการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเป็นกฎหมายเฉพาะในการบริหารจัดการทรัพยากรชีวภาพที่อยู่ใน ราชอาณาจักรไทยไม่ว่าจะอยู่ ในความครอบครองของภาครัฐหรือเอกชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.376en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectทรัพยากรธรรมชาติ--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectทรัพยากรธรรมชาติ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleปัญหากฎหมายว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพยากรชีวภาพ : การเข้าถึงและการแบ่งปันผลประโยชน์ตอบแทนth_TH
dc.title.alternativeLegal problems relating to biological resource management : access and benefit sharingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.376-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.376en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study legal problems in Thailand relating to access and benefit sharing of biological resources. The study compared Thai law with international law and the laws of various countries to find opportunities to improve the law’s implementation in Thailand.This research various laws on biological diversity conventions, including the Nagoya Protocol and the Bonn Guidelines, in addition to laws relating to access and benefit sharing of biological resources in Canada, the United States of America, Bulgaria,Portugal, Costa Rica, India, and the Philippines. Each of these was analyzed and compared with Thai law. The results of this research showed that the relevant Thai laws were highly inconsistent. This made biological resources management in Thailand less effective than it should be. Moreover, there is no official authority that has direct responsibility for this task. Thus, Thailand should enact improved laws relating to access and benefit sharing of biological resources. These improved laws will facilitate biological resources management in Thailand, for both government and the private sector.en_US
dc.contributor.coadvisorวิชัย สุขลิ้มth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143892.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons