Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1434
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เกศินี โกมล | - |
dc.contributor.author | นวลจิตต์ เชาวกีรดิพงศ์ | - |
dc.contributor.author | ดวงเดือน พินสุวรรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-09T08:27:35Z | - |
dc.date.available | 2022-09-09T08:27:35Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), หน้า 256-272 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1434 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ : ในเขตพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญที่เรียนด้วยผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี กับนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี กับนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ (3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7 อี (4) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดสังเคราะห์ของนักเรียนที่รียนด้วผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี กับนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ และ (5) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดสังเคราะห์ของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนจิกคู่วิทยา จังหวัดอำนาจเจริญ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกยา 2556 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 26 คน จำนวน 52 กน ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วจับฉลากให้ห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองที่เรียนด้วยการใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี และอีกห้องหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมเรียนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี แผนการสอนแบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส มีค่าความเที่ยง 0.85 แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีค่าความเที่ยง 0.97 และแบบวัดความสามารถในการดิดสังเคราะห์มีค่าความเที่ยง 0.77 สถิติที่ใช้ในการวิเกราะห์ข้อมูล ได้แก่ ก่เฉสี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทคสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า (1) ความคงทนในการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในเขตพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญที่เรียนด้วยการใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยการใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (3) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยการใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (4) ความสามารถในการคิดสังเคราะห์ขอนักเรียนที่เรียนด้วยการใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ (5)ความสามารถในการคิดสังเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยการใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ผังกราฟิกประกอบกับการสอนแบบ 7อี ที่มีต่อความคงทนในการเรียนรู้วิชาเคมี การคิดวิเคราะห์ และการคิดสังเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในเขตพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using graphic organizers with the 7E inquiry cycle instruction process on learning retention in chemistry, analytical thinking and synthetical thinking of Mathayom Suksa V Students in the Amnatcharoen province area | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License