Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1435
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วันชนก อาจปรุ | - |
dc.contributor.author | สารีพันธุ์ ศุภวรรณ | - |
dc.contributor.author | สุทธิวรรณ ตันดิรจนาวงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-09T08:33:26Z | - |
dc.date.available | 2022-09-09T08:33:26Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), หน้า 273-285 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1435 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิต สำหรับผู้เรียนการศึกยานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนจากชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เรื่อง สารเพื่อชีวิต และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีต่อชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิตกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้เรียนการศึกษานอกระบบที่ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2537 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 31 คน ได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสดร์ เรื่องสารเพื่อชีวิต สำหรับผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รียนการศึกษานอกระบบที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าประสิทธิภาพ E/E, ค่เฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่ามีผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารเพื่อชีวิตที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 คือ 80. 77/8 1.29 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความพึงพอใจของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีต่อชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์มีค่าเฉลี่ย 4.64 ซึ่งมีค่าอยู่ในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เรื่อง สารเพื่อชีวิตสำหรับผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในจังหวัดปทุมธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Development of a science activity package on substances for life for Nonformal Lower Secondary Education Learners in Pathumthani Province | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License