Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1459
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วีรญา ธรรมขันธ์, 2527- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-12T08:17:16Z | - |
dc.date.available | 2022-09-12T08:17:16Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1459 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. ((ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพพื้นที่และการผลิตการเกษตรของเกษตรกร (3) ความคิดเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับความเหมาะสมของการปลูกพืชหลังนา และ (4) ปัญหาและความต้องการในการปลูกพืชหลังนาของเกษตรกร ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรในเขตชลประทานมีอายุเฉลี่ย 53.41 และนอกเขตชลประทาน อายุเฉลี่ย 65.48 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เกษตรกรในเขตชลประทานมีรายได้เฉลี่ย 66,355.32 บาท และเกษตรกรนอกเขตชลประทานมีรายได้เฉลี่ย 50,368.09 บาท (2) สภาพพื้นที่การผลิตการเกษตรของเกษตรกรทั้งสองเขตพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่ม ลักษณะดินจัดอยู่ในกลุ่มดินเนื้อละเอียดถึงดินเนื้อหยาบ อาศัยแหล่งน้ำฝนเป็นหลักในการโดยเกษตรกรนอกเขตชลประทานใช้น้ำฝนเป็นแหล่งน้ำในการเกษตรมากกว่าเกษตรกรในเขตชลประทานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ความคิดเห็นของเกษตรกร พบว่า สภาพพื้นที่ดินและสภาพอากาศของพื้นที่นอกเขตชลประทานมีสภาพที่เหมาะกับการปลูกพืชหลังนามากกว่าพื้นที่นาในเขตชลประทาน และพื้นที่ในเขตชลประทานสามารถนำน้ำมาใช้ปลูกพืชหลังนา สำหรับพืชที่เหมาะสมในการปลูกพืชหลังนา พบว่า ถั่วเหลือง ไม้ดอก ไม้ประดับมีผลต่อสภาพพื้นที่ทั้ง 2 เขต และ(4) ปัญหาในการส่งเสริมการปลูกพืชหลังนาของพื้นที่ในเขตชลประทาน พบว่า ปัญหาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พืชนอกฤดู--การปลูก | th_TH |
dc.subject | การปลูกพืช | th_TH |
dc.subject | การปลูกพืชหมุนเวียน--ไทย--นครนายก | th_TH |
dc.title | การปลูกพืชหลังนาของเกษตรกรในเขตและนอกเขตชลประทานในอำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก | th_TH |
dc.title.alternative | Crop production after rice harvesting by farmers in irrigated and non-irrigated area in Pak Phli District, Nakhon Nayok Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_162662.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License