Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1488
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | น้ำทิพย์ วิภาวิน | th_TH |
dc.contributor.author | ประภัสศรี โคทส์, 2510- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-14T02:54:54Z | - |
dc.date.available | 2022-09-14T02:54:54Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1488 | en_US |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย (2) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีของการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยและต่างประเทศ (3) ศึกษาปัจจัย ที่มีผลต่อความสำเร็จของการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย และ (4) พัฒนารูปแบบการบริการ สารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยว จำานวน 396 คน คัดเลือก แบบง่ายจากจังหวัดที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดและสร้างรายได้สูงทางการท่องเที่ยว ตั้งแต่ปี 2554-2558 จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ชลบุรี กาญจนบุรี ภูเก็ต เชียงใหม่ และนครราชสีมา ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 18 คน จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช จำนวน 6 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยเป็นการบริการสารสนเทศ พื้นฐานแบบเผชิญหน้า ได้แก่ บริการตอบคำถาม บอกเส้นทางให้แผนที่ สืบค้นข้อมูลออนไลน์ และ การบริการสารสนเทศพิเศษได้แก่ บริการข้อมูลท่องเที่ยวเชิงธุรกิจแก่ผู้ประกอบการ ข้อมูลท่องเที่ยวเฉพาะด้าน และบริการนำส่งเอกสาร มีการบูรณาการความรู้และใช้ทรัพยากรร่วมกันกับหน่วยงานด้านการท่องเที่ยวภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น 2) แนวปฏิบัติที่ดีของการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยและต่างประเทศ ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการบุคลากรและด้านการบริการสารสนเทศ ประกอบด้วย การต้อนรับนักท่องเที่ยว ประเภทของการบริการสารสนเทศที่ให้บริการ ช่องทางการบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย ได้แก่ การคัดสรรสารสนเทศที่ให้บริการ เฉพาะกลุ่มโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ งบประมาณที่ใช้จ้างบุคลากร ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และ 4) รูปแบบการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับประเทศไทยคือ โมเดล SI-IS ประกอบด้วย SI ได้แก่ Sharing (S) การใช้ทรัพยากรร่วมกันและการบูรณาการ ความรู้ของบุคลากรขององค์กรท่องเที่ยวและชุมชนในท้องถิ่น และ Information (I) สารสนเทศเฉพาะกลุ่มซึ่งเป็น หัวใจสำคัญของการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยว Information Systems (IS) ระบบสารสนเทศด้านการ ท่องเที่ยว ประกอบด้วยระบบการท่องเที่ยวอัจฉริยะ การเชื่อมโยงบริการสารสนเทศแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ และ มาตรฐานข้อมูลท่องเที่ยวทั่วไทย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.41 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว--บริการสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | ไทย--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการบริการสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Development of Thailand tourism information services model | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.41 | en_US |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research aims to 1) study the status of tourist information services in Thailand; 2) identify the best practice of tourist information services in Thailand and abroad; 3) identify the success factors of Thailand tourist information services; and 4) develop a model for Thailand tourist information services. This study employed mixed methods research. The population consisted of 396 tourists, selected randomly from 6 provinces that had the highest number of visitors and revenue from 2011-2015: Bangkok, Chonburi, Karnchanburi, Phuket, Chiangmai and Nakorn Ratchasima, 18 managers and staff from a total of 6 tourism organizations within the Tourism Authority of Thailand and Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation. The instruments were questionnaires and semi-structure interviews. Quantitative data analysis consisted of percentage, mean, and standard deviation, and content analysis was used for qualitative data analysis. The key findings of the study were that the status of Thailand tourist information services were primarily face-to-face information service such as enquiry services, routes, maps, online information retrieval services and special information services including, tourist information for entrepreneurs, selective dissemination of tourist information and document delivery. There was an integration of knowledge and sharing information with government organizations, private sector and local communities. The best practice of tourist information services in Thailand and abroad were Human Resources and Service Provision comprising of reception of visitors, type of services, provision of information, information channels and information technology. The success factors of Thailand tourist information services were tailored information for specific groups, information technology infrastructure, budget for manpower, management leadership and stakeholder collaboration. The suitable Thailand tourist information service model was SI-IS. SI consisted of Sharing (S) resources and integrated knowledge of tourist organizations staff and local communities and Information (I), or specific information, was the core of tourist information service. Information Systems (IS) were tourist information systems consisting of a smart tourism system, a link one-to-stop information service and “i” tourist information standard throughout Thailand. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | โกวิท รพีพิศาล | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib159470.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 42.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License