Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวินth_TH
dc.contributor.authorกมลศรี ฤกษ์สมุทร, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-14T03:16:19Z-
dc.date.available2022-09-14T03:16:19Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1490en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ 3) ปัญหาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ คณะกรรมการหรือคณะทำงานชุมชนนักปฏิบัติที่ได้รับแต่งตั้งจากหน่วยงาน พ.ศ. 2555 ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของ รัฐในเขตกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล 23 แห่ง รวมจำนวนทั้งสิ้น 431 คน โดยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 226 คน ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยของรัฐ 150 คน มหาวิทยาลัยราชภัฎ จำนวน 48 คน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การแจกแจงความถี่ และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ชุมชนนักปฏิบัติในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านสื่อบุคคลมากที่สุด คือ เพื่อนช่วยเพื่อนรองลงมาคือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีค่าเฉลี่ยระดับมากเท่ากัน คือ การจัดเก็บความรู้ และการสื่อสารและถ่ายทอดความรู้ผ่านเทคโนโลยี 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้แก่ ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีค่าเฉลี่ยระดับมาก รองลงมาเป็นปัจจัยด้านทัศนคติของบุคคลเกี่ยวกับบรรยากาศการทำงานเป็นทีมมีค่าเฉลี่ยระดับมาก 3) ปัญหาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้แก่ ปัญหาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับมาก คือขาดการอบรมเทคโนโลยีใหม่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้รองลงมาคือปัญหาด้านบุคคลในระดับมากคือบุคลากรมีภาระงานมากทำให้ไม่มีเวลาที่จะแลกเปลี่ยนความรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาth_TH
dc.titleการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeKnowledge sharing of communities of practice in public university libraries in Bangkok Metropolis and the Vicinitiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study 1) the knowledge sharing status of the Communities of Practice in public university libraries in Bangkok metropolis and the vicinities; 2) the factors influencing knowledge sharing in the Communities of Practice in public university libraries in Bangkok metropolis and the vicinities; and 3) the knowledge sharing problems in the Communities of Practice at public university libraries in Bangkok and the vicinities. This study employed the quantitative research. The population consisted of 431 members of Communities of Practice in 23 public university libraries. The sample size was calculated by Taro Yamane to be 226 samples. A simple random sampling method was used. The research instrument was a questionnaire. The statistics applied for data analysis included percentage, mean and standard deviation. Results were as follows. 1) Regarding the status of knowledge sharing of the Communities of Practice at public university libraries in Bangkok metropolis and the vicinities, it was found that for the most part there was exchange of knowledge through electronic media, with communication and dissemination of knowledge via information technology and communication through electronic media with a high average, followed by exchange of knowledge through personal media, with peerassisted and personal coaching with a high average. 2 ) The factors having the most influence on knowledge exchange at public institutions of higher education in Bangkok metropolis and the vicinities were as follows: factors related to information technology and communication with a high average, followed by the factor of staffs attitudes concerning working in teams with a high average. 3) The problems of knowledge sharing within Communities of Practice in public institutions of higher education in Bangkok metropolis and the vicinities included problems regarding information technology and communication with a high average. It was found that most of the problems regarding technology in communication involved the lack of training in the use of new technology for knowledge sharing for staff with a high average followed by personnel problems with a high average. The research indicated that most of the problems regarding staff were that there was a very heavy workload, which resulted in insufficient time for knowledge exchange with a high average.en_US
dc.contributor.coadvisorชำนาญ เชาวกีรติพงศ์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib156516.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons