Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา พิมพ์พัฒ, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-14T06:15:21Z-
dc.date.available2022-09-14T06:15:21Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1500-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การศึกษาเพื่อ (1) ศึกษาสภาพทั่วไปของการลงทุนจาก ต่างประเทศของไทย (2) ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนจากต่างประเทศกับอัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิจการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วนได้แก่ การวิเคราะห์เชิงพรรณนาเป็นการศึกษาถึงภาพรวมของเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการลงทุนทางอ้อมจากต่างประเทศกับการเติบโตของเศรษฐกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้วิธีการทางเศรษฐมิติและแบบจำลอง VAR (Vector Autoregressive) ในการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การลงทุนทางอ้อมจากต่างประเทศกับการเติบโตของเศรษฐกิจเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของทั้งสามตัวแปร โดยการศึกษาได้นำข้อมูลทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลารายไตรมาสตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 พ.ศ.2548-ไตรมาสที่ 2ของพ.ศ. 2560 รวม 50 ไตรมาส การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการทดสอบความนิ่งของข้อมูลตามวิธีของ Augmented Dickey-Fuller (ADF) Test และวิธีของ Phillips-Perron (PP) และหาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวด้วยการทดสอบ Co-Integration จากนั้นจึงได้ทำการทดสอบเพื่อหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลด้วยวิธี Granger causality ผลการศึกษา พบว่าการลงทุนจากต่างประเทศ พ.ศ. 2548-2559 มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น-ลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของการลงทุนจากต่างประเทศ คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และปัญหาเศรษฐกิจ - การเมือง ภัยพิบัติทางธรรมชาติทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น ปัญหาทางเศรษฐกิจและเหตุการณ์ทางการเมืองของยุโรป สหรัฐอเมริกา ตะวันออกกลาง และญี่ปุ่น เป็นต้น นักลงทุนที่มีบทบาทสำคัญ คือ นักลงทุนจาก ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ฮ่องกง และจีน และ 2) เมื่อพิจารณาที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 พบว่า การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศกับการลงทุน ทางอ้อมจากต่างประเทศและการเติบโตทางเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กันในระยะยาวและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และการเติบโตทางเศรษฐกิจส่งผลทางบวกต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและการลงทุนทางอ้อมจากต่างประเทศ ส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศกับการลงทุนทางอ้อมจากต่างประเทศไม่ ส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/CMU.res.2006.51-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการลงทุนของต่างประเทศth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนจากต่างประเทศกับการเติบโตทางเศรษฐกิจth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between foreign investment and economic growthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/CMU.res.2006.51-
dc.degree.nameเศรษฐศาตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) study the general conditions of Foreign Investment in Thailand 2) study the relationship between Foreign Investment and economic growth by in the first part is a descriptive analysis of the study was divided into two part, overview of Foreign Direct Investment (FDI), Foreign Portfolio Investment (FPI) and Economic Growth (GDP) and the second part is applying the quantitative analysis. Econometric Method and Vector Autoregressive (VAR) Model, were applied to analyze the relationship between Foreign Direct Investment (FDI), Foreign Portfolio Investment (FPI) and Economic Growth (GDP). Secondary data time- series data from the first quarter of 2005 to the second quarter of 2017 result in total of 50 quarters were used in this study. The data were tested for consistency by applying the Augmented Dickey-Fuller (ADF) test a nd the Phillips-Perron (PP) methods. The integration Test were applied to find long-term equilibrium relationships. finally the data were tested for causality by Granger Causality method. The results found that 1) During 2005-2016, the foreign investment had increase - decline amfinuosly. The factors affecting the changes of foreign investment were the Gross Domestic Product economic problem, political, natural disaster, which affected both in the country. For example, the economic the significant investors were problem and political station in Europe, US., middle-east and form Japan. Singapore, Hongkong and China. 2) The quantitative study found that at 0.05 significant level the Foreign Direct Investment (FDI), Foreign Portfolio Investment (FPI) and G ross Domestic Product (GDP) had the long-term relationships in the same directions. Furthermore, the economic growth had positive affects toward the direct and indirect foreign investments. In contrary, the direct and indirect investment had no effect on economic growth during the period of this studyen_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159360.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons