Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1545
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จรรยา สิงห์คำ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | อัจฉรา จิตตลดากร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วิภาดา ลี้ตี๋, 2534- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-15T07:38:09Z | - |
dc.date.available | 2022-09-15T07:38:09Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1545 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกากมันสำปะหลังต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ต้นทุนและผลตอบแทนในการปลูกข้าวของเกษตรกรจากการศึกษาพบว่าทรีตเมนต์ที่ใช้ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราร่วมกับกากมันสำปะหลัง (T4) มีผลทำให้ความสูงของลำต้นข้าวเฉลี่ยและจำนวนรวงต่อกอมีค่าสูงสุด คือ107.2 เซนติเมตร และ 4.56 รวงต่อกอ ตามลำดับ ทรีตเมนต์ที่ใช้ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราร่วมกับกากมันสำปะหลัง มีผลทำให้จำนวนรวงต่อกอเฉลี่ยมีค่าสูงสุด 3.92 รวงต่อกอ นํ้าหนัก 1,000 เมล็ดของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ในทุกทรีตเมนต์ (P>0.05) ค่าอยู่ระหว่าง 27.51-28.46 กรัม ขณะที่จำนวนต้นต่อกอมีความแตกต่างกัน ทางสถิติ (P≤0.05) ในทุกทรีตเมนต์ การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับกากมันสำปะหลัง (T3) มีจำนวนต้นต่อกอเฉลี่ย มีค่าสูงสุดเท่ากับ 8.43 ต้นต่อกอ การใช้กากมันสำปะหลัง 200 กก./ไร่ ให้ผลผลิตผลผลิตข้าวขาวมะลิ 105 เฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 378 กก./ไร่ และมีต้นทุนและรายได้สูงสุด คือ 5,954 และ 741.8 บาท/ไร่ ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับทรีตเมนต์อื่นๆ นอกจากนี้พบว่า pH ของดินในทุกทรีตเมนต์หลังการเก็บเกี่ยวข้าว ขาวดอกมะลิ 105 มีค่า pH ของดินลดลง และค่าความเป็นกรดของดินมีค่าระหว่าง 5.20-5.37 สำหรับปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังปลูกในแต่ละทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีค่าอยู่ระหว่าง 0.32-0.37 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณธาตุไนโตรเจนทั้งหมด ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด และปริมาณโพแทสเซียมทั้งหมดในแต่ละทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าว--การเจริญเติบโต | th_TH |
dc.subject | มันสำปะหลัง--การแปรรูป | th_TH |
dc.title | ผลของกากมันสำปะหลังต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of cassava residue on growth and yield of Khao Dawk Mali 105 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158740.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License