Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1566
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ชนนิภา ทองรอด, 2527- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-16T03:14:32Z | - |
dc.date.available | 2022-09-16T03:14:32Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1566 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทั่วไปของสมาชิกกลุ่มนาแปลงใหญ่บ้านทับยา จังหวัดสิงห์บุรี 2) การบริหารจัดการกลุ่มนาแปลงใหญ่บ้านทับยา จังหวัดสิงห์บุรี 3) การจัดการห่วงโซ่อุปทานของกลุ่มนาแปลงใหญ่บ้านทับยา จังหวัดสิงห์บุรีและ 4) ปัญหา ข้อเสนอแนะและแนวทางในการบริหารจัดการกลุ่มนาแปลงใหญ่บ้านทับยา จังหวัดสิงห์บุรี ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรร้อยละ 58.50 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 59.56 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนต้น สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3 คน มีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2 คน พื้นที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่เฉลี่ย 22.69 ไร่ ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 794.5 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตข้าวเฉลี่ย 4,143 บาทต่อไร่ รายได้จากการผลิตปี 2559/60 เฉลี่ย 130,347.96 บาท 2) การบริหารจัดการกลุ่ม ประกอบด้วยการจัดทำแผนการผลิตรายแปลง การจัดโครงสร้างองค์กรของกลุ่ม การกำหนดกฎระเบียบของกลุ่ม การเรียนรู้ และการตลาด นอกจากผลิตข้าวแล้วกลุ่มมีการแปรรูปข้าวเป็นข้าวตู มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ข้าวที่ผลิตมีการจำหน่ายหลายช่องทาง ได้แก่ การขายในตลาดประชารัฐ บริษัทเอกชน ตลาดออนไลน์ โรงพยาบาลอินทร์บุรี และมีการจัดการเงินกองทุน 3) การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ต้นนํ้ามีการวางแผนการผลิต การจัดการการผลิต มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตและแปรรูปข้าวแบบครบวงจร กลางนํ้ามีการแปรรูปผลผลิตจำหน่าย ปลายนํ้ามีการทำข้อตกลงในการส่งข้าวให้กับโรงสีตั้งเซี้ยงฮะ และบริษัทอารีย์มาร์เก็ตติ้ง 4) ปัญหาที่พบคือ การปลูกข้าวพันธุ์ที่ตลาดไม่ต้องการ ข้อเสนอแนะ ควรส่งเสริมให้ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพิ่มมากขึ้น สมาชิกขาดความรู้ทางด้านตลาด ข้อเสนอแนะ ภาครัฐควรจัดอบรมเพิ่มความรู้ทางการตลาดให้มากขึ้น และแนวทางการบริหารจัดการกลุ่ม ได้แก่ การพัฒนาด้านการผลิต ด้านการตลาด และการบริหารจัดการกลุ่ม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การทำนา--ไทย--สิงห์บุรี | th_TH |
dc.subject | เกษตรกรรม--แง่เศรษฐกิจ | th_TH |
dc.title | แนวทางการบริหารจัดการกลุ่มนาแปลงใหญ่บ้านทับยา จังหวัดสิงห์บุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Management approach for agricultural large land plot at Ban Thap Ya, Sing Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158753.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License