Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรณ บุตรด้วง, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-16T03:46:58Z-
dc.date.available2022-09-16T03:46:58Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1572-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคม และเศรษฐกิจของเกษตรกร ในจังหวัดหนองบัวลำภู (2) ผลการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) (3) ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อการดำเนินงาน ศพก. (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ศพก. และ (5) แนวทางการพัฒนาการดำเนินงาน ศพก. ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรร้อยละ 68.0 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 54.73 ปี ร้อยละ 70.5 จบระดับประถมศึกษา จำนวนครั้งที่เข้ารับการอบรมใน ศพก. เฉลี่ย 28.80 ครั้ง (2) ผลการดำเนินงานของ ศพก. ทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก ดังนี้ เกษตรกรต้นแบบ การบริหารจัดการของ ศพก. องค์ประกอบของ ศพก. และการให้บริการของ ศพก. (ค่าเฉลี่ย 4.12, 4.03, 3.89, และ 3.82 ตามลำดับ) (3) เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของ ศพก.ทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก ดังนี้ เกษตรกรต้นแบบ การบริหารจัดการของ ศพก. องค์ประกอบของ ศพก. และการให้บริการของ ศพก. (ค่าเฉลี่ย 3.99, 3.95 และ 3.80 เท่ากัน ตามลำดับ) (4) ปัญหา การดำเนินงาน ศพก. ทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย 2.02 – 2.30) โดยเกษตรกรเห็นด้วยกับข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ศพก. ด้านการบริหารจัดการของ ศพก. ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.25) และ (5) เกษตรกรเห็นด้วยกับแนวทางพัฒนาการดำเนินงาน ศพก. ด้านองค์ประกอบของ ศพก. และเกษตรกรต้นแบบ ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.27 เท่ากัน) โดยมีแนวทางพัฒนาการดำเนินงาน ศพก. ที่สำคัญ คือ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาแปลงเรียนรู้ ฐานเรียนรู้ให้มีความพร้อม พัฒนาหลักสูตรให้ตอบโจทย์ชุมชน เพิ่มเติมความรู้และเทคนิค การถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกรต้นแบบ บูรณาการการทำงาน และเชื่อมโยงเครือข่าย ให้การบริการและติดตาม ผู้มาใช้บริการ สร้างทายาทเกษตรกรต้นแบบ และพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จังหวัดหนองบัวลำภูth_TH
dc.title.alternativeGuidelines for developing the agricultural learning center in Nong Bua Lum Phu Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158833.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons